ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอเพนซอร์ส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ JoyPanaddaThislun (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย BotKung
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ตัวแบบโอเพนซอร์ซ''' ({{lang-en|open-source model}}) เป็นตัวแบบการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบกระจายอำนาจที่สนับสนุนให้มีการร่วมมือกันอย่างเสรี<ref name="doi.org">Levine, Sheen S., & Prietula, M. J. (2013). [https://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=1096442 Open Collaboration for Innovation: Principles and Performance]. ''Organization Science'', {{doi|10.1287/orsc.2013.0872}}</ref><ref>{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=jo4hAQAAIAAJ|title=The cathedral and the bazaar: musings on Linux and Open Source by an accidental revolutionary|last=Raymond|first=Eric S.|publisher=OReilly|year=2001|isbn=978-0-596-00108-7|authorlink=Eric S. Raymond}}{{page needed|date=November 2012}}</ref> หลักของการพัฒนาซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซคือการผลิตแบบเสมอกัน (peer production) โดยมหาชนสามารถเข้าถึงผลิตผล เช่น [[ซอร์ซโค้ด]] [[พิมพ์เขียว]] และเอกสารกำกับโปรแกรมได้อย่างเสรี การเคลื่อนไหวเกี่ยวกับโอเพนซอร์ซทางด้านซอฟต์แวร์เริ่มโดยเป็นการตอบโต้ข้อจำกัดของโค้ดจำกัดสิทธิ ตัวแบบถูกใช้สำหรับโครงการ เช่น ใน [[open-source appropriate technology]]<ref>{{cite journal |title=The Case for Open Source Appropriate Technology |journal=Environment, Development and Sustainability |volume=14 |issue= |pages=425–431 |year=2012 |doi=10.1007/s10668-012-9337-9 |url=https://www.academia.edu/1517361/The_Case_for_Open_Source_Appropriate_Technology}}</ref> และการคิดค้นยาแบบโอเพนซอร์ซ<ref>[http://www.business-standard.com/india/news/sreelatha-menon-researchers-sans-borders/00/19/350429/ "Science 2.0 is here as CSIR resorts to open-source drug research for TB" Business Standard, 1 March 2009]</ref><ref>[http://openwetware.org/wiki/OSDDMalaria:GSK_Arylpyrrole_Series:Story_so_far "Open Source Drug Discovery for Malaria Consortium]</ref>

โอเพนซอร์ซส่งเสริมการเข้าถึงอย่างเสรีผ่านโอเพนซอร์ซหรือ[[สัญญาอนุญาตเสรี]]ต่อการออกแบบหรือพิมพ์เขียวของผลิตผล รวมถึงการแจกจ่ายการออกแบบหรือพิมพ์เขียวนั้นอย่างสากล<ref>{{cite journal|last=Lakhani|first=K.R.|last2=von Hippel|first2=E.|year=June 2003|title=How Open Source Software Works: Free User to User Assistance|url=

http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0048733302000951|journal=Research Policy|volume=32|issue=6|pages=923–943|doi=10.1016/S0048-7333(02)00095-1}}</ref><ref>{{cite book|title=Proceedings of the SAICSIT 2010 Conference — Fountains of Computing Research|last=Gerber|first=A.|last2=Molefo|first2=O.|last3=Van der Merwe|first3=A.|publisher=ACM Press|year=2010|isbn=978-1-60558-950-3|editor-last=Kotze|editor-first=P.|pages=75–85|chapter=Documenting open-source migration processes for re-use|doi=10.1145/1899503.1899512|display-editors=3|chapterurl=http://dl.acm.org/citation.cfm?id=1899503.1899512|editor2-first=A.|editor2-last=Gerber|editor3-first=A.|editor3-last=van der Merwe|editor4-first=N.|editor4-last=Bidwell}}</ref> ก่อนคำว่า ''โอเพนซอร์ซ'' จะถูกใช้อย่างแพร่หลาย ผู้พัฒนาและผู้ผลิตใช้คำศัพท์อื่น ทว่าคำว่า โอเพนซอร์ซ ได้รับความนิยมหลัง[[อินเทอร์เน็ต|อินเทอร์เน็ต]]เริ่มแพร่หลาย<ref>{{harvnb|Weber|2004}}{{page needed|date=February 2014}}</ref> การเคลื่อนไหวซอร์ฟแวร์โอเพนซอร์ซเริ่มขึ้นเพื่อสร้างความชัดเจนด้านลิขสิทธิ์ [[สัญญาอนุญาต|การจดใบอนุญาต]] [[ชื่อโดเมน|โดเมน]] และประเด็นเกี่ยวกับผู้บริโภค

กล่าวคือโอเพนซอร์ซหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีซอร์ซโค้ดซึ่งเข้าถึงได้โดยสาธารณะเพื่อใช้หรือเปลี่ยนแปลงจากต้นฉบับ โค้ดโอเพนซอร์ซสร้างมาเพื่อให้นักเขียนโปรแกรมสามารถร่วมมือกันพัฒนาซอร์ซโค้ดและแบ่งปันการเปลี่ยนแปลงกับชุมชน โค้ดถูกเผยแพร่ภายใต้เงื่อนไขของ[[สัญญาอนุญาตซอฟต์แวร์]] คนอื่นสามารถดาวน์โหลด ปลับเปลี่ยน และเผยแพร่รุ่นอื่นกลับไปยังชุมชนตามแต่เงื่อนไขของสัญญาอนุญาต

การเคลื่อนไหวเกี่ยวกับโอเพนซอร์ซ ยังจุดประกายให้งานวิจัยด้าน[[เทคโนโลยีชีวภาพ]]มีความโปร่งใสและเสรีภาพมากขึ้น ตัวอย่างเช่น [[CAMBIA]]<ref>{{cite web|url=http://www.cambia.org/daisy/cambia/470.html|title='Open-Source Practices for Biotechnology' — Cambia — Enabling Innovation|publisher=Cambia|accessdate=2012-10-25}}</ref> แม้กระทั่งวิธีวิทยาทางงานวิจัยเองก็สามารถได้ประโยชน์จากการประยุกต์ใช้หลักการโอเพนซอร์ซ<ref>{{cite journal|last=Pearce|first=Joshua M.|title=Open Source Research in Sustainability|journal=Sustainability: the Journal of Record|date=1 August 2012|volume=5|issue=4|pages=238–243|doi=10.1089/sus.2012.9944}}</ref>


== ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ ==
== ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:03, 12 พฤษภาคม 2564

ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ

ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซ เริ่มต้นจากการเคลื่อนไหวภายใต้ชื่อซอฟต์แวร์เสรี (free software) ในช่วง พ.ศ. 2526 จนกระทั่งในปี 2531 คำว่าซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซได้ถูกนำมาใช้แทนคำว่า "ฟรี" เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจและให้ความรู้สึกสบายใจต่อทั้งผู้ใช้และผู้พัฒนา รวมถึงคำว่า ฟรี ในลักษณะของคำว่าเสรีนอกเหนือจากคำว่าฟรีในลักษณะไม่เสียค่าใช้จ่าย[1] ผู้ใช้งานรวมถึงผู้พัฒนาสามารถนำซอฟต์แวร์มาใช้งาน แก้ไข แจกจ่าย โดยสามารถนำมาปรับปรุงทั้งในลักษณะส่วนตัว หรือในหน่วยงานเอกชนได้ ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซอนุญาตให้ทุกคนสามารถนำซอฟต์แวร์ไปพัฒนา รวมถึงวางขายและทำการตลาด ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซที่เป็นที่รู้จักกันดีได้แก่ เพิร์ล, ไฟร์ฟอกซ์, ลินุกซ์, อะแพชี เว็บเซิร์ฟเวอร์ ลักษณะเงื่อนไขทางลิขสิทธิ์ที่นิยมได้ สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู (จีพีแอล) และ สัญญาอนุญาตแจกจ่ายซอฟต์แวร์ของเบิร์กลีย์ (บีเอสดี) จากรายงานของกลุ่มสแตนดิชประมาณการประหยัดงบประมาณจากการใช้งานซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ซได้ 6 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐต่อปี[2]

อ้างอิง

ดูเพิ่ม