ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กัญชา (ยา)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
ในปี 2547 สหประชาชาติประมาณการบริโภคกัญชาทั่วโลกชี้ว่าประมาณ 4% ของประชากรผู้ใหญ่ทั่วโลก (162 ล้านคน) ใช้กัญชาทุกปี และประมาณ 0.6% (22.5) ใช้ทุกวัน<ref name="articleUnited Nations Office on Drugs and Crime">{{Cite book |author=United Nations Office on Drugs and Crime |year=2006 |url=http://www.unodc.org/pdf/WDR_2006/wdr2006_chap2_biggest_market.pdf |format=PDF |title=Cannabis: Why We Should Care |journal=World Drug Report |volume=1 |isbn=92-1-148214-3 |publisher=United Nations |location=S.l. |page=14}}</ref>
ในปี 2547 สหประชาชาติประมาณการบริโภคกัญชาทั่วโลกชี้ว่าประมาณ 4% ของประชากรผู้ใหญ่ทั่วโลก (162 ล้านคน) ใช้กัญชาทุกปี และประมาณ 0.6% (22.5) ใช้ทุกวัน<ref name="articleUnited Nations Office on Drugs and Crime">{{Cite book |author=United Nations Office on Drugs and Crime |year=2006 |url=http://www.unodc.org/pdf/WDR_2006/wdr2006_chap2_biggest_market.pdf |format=PDF |title=Cannabis: Why We Should Care |journal=World Drug Report |volume=1 |isbn=92-1-148214-3 |publisher=United Nations |location=S.l. |page=14}}</ref>


==อาการของผู้เสพใช้กัญชาเป็นยาเสพติด==
==อาการของผู้ใช้กัญชาเป็นยาเสพติด การเสพ ..............==
ในระยะแรกของการใช้กัญชาเป็น[[ยาเสพติด]] ผู้เสพจะมีอาการร่าเริง พูดมากและหัวเราะมาก หัวใจเต้นเร็ว และตื่นเต้นง่าย และต่อมาผู้เสพจะมีลักษณะคล้าย[[ภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษ|มึนเมา]][[เครื่องดื่มแอลกอฮอล์]] เพราะจะมีฤทธิ์กดประสาท อาการของผู้เสพ เช่น หายใจถี่ เห็น[[ภาพลวงตา]]หรือภาพหลอน หู่แว่ว ตกใจง่าย [[วิตกกังวล]] [[หวาดระแวง]] และนอกจากนี้ ผู้เสพบางคนอาจจะมีอาการ[[คลื่นไส้]][[อาเจียน]] [[ความจำเสื่อม]]ความคิดสับสนเพ้อคลั่ง หรือบางรายอาจไม่สามารถควบคุมตนเองได้มี[[จิตเวช|อาการทางจิต]]<ref>[https://www.baanjomyut.com/library_3/cannabis/index.html อาการของผู้เสพติดกัญชา]</ref>
ในระยะแรกของการใช้กัญชาเป็น[[ยาเสพติด]] ผู้เสพจะมีอาการร่าเริง พูดมากและหัวเราะมาก หัวใจเต้นเร็ว และตื่นเต้นง่าย และต่อมาผู้เสพจะมีลักษณะคล้าย[[ภาวะแอลกอฮอล์เป็นพิษ|มึนเมา]][[เครื่องดื่มแอลกอฮอล์]] เพราะจะมีฤทธิ์กดประสาท อาการของผู้เสพ เช่น หายใจถี่ เห็น[[ภาพลวงตา]]หรือภาพหลอน หู่แว่ว ตกใจง่าย [[วิตกกังวล]] [[หวาดระแวง]] และนอกจากนี้ ผู้เสพบางคนอาจจะมีอาการ[[คลื่นไส้]][[อาเจียน]] [[ความจำเสื่อม]]ความคิดสับสนเพ้อคลั่ง หรือบางรายอาจไม่สามารถควบคุมตนเองได้มี[[จิตเวช|อาการทางจิต]]<ref>[https://www.baanjomyut.com/library_3/cannabis/index.html อาการของผู้เสพติดกัญชา]</ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:18, 26 กุมภาพันธ์ 2564

กัญชา

กัญชา หรือ ต้นกัญชา เป็นสารเสพติดโดยตั้งใจใช้เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและเป็นยารักษาโรค[1] ในทางเภสัชวิทยา องค์ประกอบที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทหลักของกัญชา คือ เตตระไฮโดรแคนนาบินอล (THC) ซึ่งเป็นสารประกอบหนึ่งจาก 483 ชนิดที่ทราบว่าพบในต้นกัญชา[2] ซึ่งสารอื่นที่พบมีแคนนาบินอยด์อีกอย่างน้อย 84 ชนิด เช่น แคนนาบิไดออล (CBD) แคนนาบินอล (CBN) เตตระไฮโดรแคนนาบิวาริน (THCV)[3][4] และ แคนนาบิเจอรอล (CBG)

มนุษย์มักบริโภคกัญชาเพื่อผลที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและสรีรวิทยาของมัน ซึ่งรวมถึงภาวะเคลิ้มสุข ความผ่อนคลาย[5] และความอยากอาหารเพิ่มขึ้น[6] ผลข้างเคียงไม่พึงปรารถนาบางครั้งรวมถึงความจำระยะสั้นลดลง ปากแห้ง ทักษะการเคลื่อนไหวบกพร่อง ตาแดง[5] และรู้สึกหวาดระแวงหรือวิตกกังวล[7]

ปัจจุบันกัญชาใช้เป็นยานันทนาการหรือยารักษาโรค และเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมทางศาสนาหรือวิญญาณ มีบันทึกการใช้กัญชาครั้งแรกตั้งแต่สหัสวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล[8] นับแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 กัญชาถูกจำกัดตามกฎหมาย โดยปัจจุบันการครอบครอง การใช้หรือการขายการเตรียมกัญชาปรุงสำเร็จซึ่งมีแคนนาบินอยด์ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทผิดกฎหมายในประเทศส่วนใหญ่ทั่วโลก สหประชาชาติแถลงว่า กัญชาเป็นยาผิดกฎหมายที่ใช้มากที่สุดในโลก

ในปี 2547 สหประชาชาติประมาณการบริโภคกัญชาทั่วโลกชี้ว่าประมาณ 4% ของประชากรผู้ใหญ่ทั่วโลก (162 ล้านคน) ใช้กัญชาทุกปี และประมาณ 0.6% (22.5) ใช้ทุกวัน[9]

อาการของผู้ใช้กัญชาเป็นยาเสพติด การเสพ ..............

ในระยะแรกของการใช้กัญชาเป็นยาเสพติด ผู้เสพจะมีอาการร่าเริง พูดมากและหัวเราะมาก หัวใจเต้นเร็ว และตื่นเต้นง่าย และต่อมาผู้เสพจะมีลักษณะคล้ายมึนเมาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพราะจะมีฤทธิ์กดประสาท อาการของผู้เสพ เช่น หายใจถี่ เห็นภาพลวงตาหรือภาพหลอน หู่แว่ว ตกใจง่าย วิตกกังวล หวาดระแวง และนอกจากนี้ ผู้เสพบางคนอาจจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียน ความจำเสื่อมความคิดสับสนเพ้อคลั่ง หรือบางรายอาจไม่สามารถควบคุมตนเองได้มีอาการทางจิต[10]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Editors of the American Heritage Dictionaries (2007). Spanish Word Histories and Mysteries: English Words That Come From Spanish. Houghton Mifflin Harcourt. p. 142. ISBN 978-0-547-35021-9. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  2. Ethan B Russo (2013). Cannabis and Cannabinoids: Pharmacology, Toxicology, and Therapeutic Potential. Routledge. p. 28. ISBN 978-1-136-61493-4.
  3. El-Alfy, Abir T; และคณะ (Jun 2010). "Antidepressant-like effect of delta-9-tetrahydrocannabinol and other cannabinoids isolated from Cannabis sativa L". Pharmacology Biochemistry and Behavior. 95 (4): 434–42. doi:10.1016/j.pbb.2010.03.004. PMC 2866040. PMID 20332000. {{cite journal}}: ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help)
  4. Fusar-Poli P, Crippa JA, Bhattacharyya S; และคณะ (January 2009). "Distinct effects of delta-9-tetrahydrocannabinol and Cannabidiol on Neural Activation during Emotional Processing". Archives of General Psychiatry. 66 (1): 95–105. doi:10.1001/archgenpsychiatry.2008.519. PMID 19124693. {{cite journal}}: ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  5. 5.0 5.1 "Marijuana intoxication: MedlinePlus Medical Encyclopedia". Nlm.nih.gov. สืบค้นเมื่อ 2013-07-12.
  6. "Marijuana: Factsheets: Appetite". Adai.uw.edu. สืบค้นเมื่อ 2013-07-12.
  7. "Marijuana - Marijuana Use and Effects of Marijuana". Webmd.com. 2012-07-23. สืบค้นเมื่อ 2013-07-12.
  8. Martin Booth (2003). Cannabis: A History. Transworld. p. 36. ISBN 978-1-4090-8489-1.
  9. United Nations Office on Drugs and Crime (2006). Cannabis: Why We Should Care (PDF). World Drug Report. Vol. 1. S.l.: United Nations. p. 14. ISBN 92-1-148214-3.
  10. อาการของผู้เสพติดกัญชา