ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรอปิกออฟแคนเซอร์"

พิกัด: 23°26′14″N 0°0′0″W / 23.43722°N -0.00000°E / 23.43722; -0.00000 (Prime Meridian)
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Coord|23|26|14|N|0|0|0|W|display=title|type:landmark|name=Prime Meridian}}
{{Coord|23|26|14|N|0|0|0|W|display=title|type:landmark|name=Prime Meridian}}
[[ไฟล์:World แผนที่โลก นอกเหนือจาก[[วงกลมอาร์กติก]]และ[[วงกลมแอนตาร์กติก|แอนตาร์กติก]]และ[[เส้นศูนย์สูตร]] ตำแหน่งของวงกลมละติจูดเหล่านี้ (สัมพันธ์กับเส้นศูนย์สูตร) กำหนดโดยความเอียงของแกนหมุนโลกเทียบกับระนาบวงโคจรของโลก
[[ไฟล์:World map with tropic of cancer.svg|thumb|แผนที่โลกแสดงทรอปิกออฟแคนเซอร์]]
'''ทรอปิกออฟแคนเซอร์''' ({{lang-en|Tropic of Cancer}}) หรือเรียก '''ทรอปิกเหนือ''' เป็น[[วงกลมละติจูด]]เหนือสุดบนโลกที่[[ดวงอาทิตย์]]ปรากฏหัวศีรษะโดยตรงเมื่อถึงจุดสูงสุด เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นปีละครั้ง คือ เวลา[[อายันเหนือ]] (Northern solstice) เมื่อ[[ซีกโลกเหนือ]]เอียงเข้าหาดวงอาทิตย์ถึงขนาดมากที่สุด วันที่ {{TODAY}} เส้นนี้อยู่ที่ {{circle of latitude|tropical|convert}} เหนือ[[เส้นศูนย์สูตร]]<ref>{{cite web|title=PHP Science Labs|url=http://www.neoprogrammics.com/obliquity_of_the_ecliptic/|accessdate=2014-01-01}}</ref>

ส่วนใน[[ซีกโลกใต้]] เส้นที่กำหนดตำแหน่งใต้สุดที่ดวงอาทิตย์อาจปรากฏเหนือศีรษะโดยตรง คือ [[ทรอปิกออฟแคปริคอร์น]] สองทรอปิกนี้เป็นการวัดองศาใหญ่หรือวงกลมละติจูดใหญ่สองจากห้าอย่างซึ่งทำเครื่องหมายแผนที่โลก นอกเหนือจาก[[วงกลมอาร์กติก]]และ[[วงกลมแอนตาร์กติก|แอนตาร์กติก]]และ[[เส้นศูนย์สูตร]] ตำแหน่งของวงกลมละติจูดเหล่านี้ (สัมพันธ์กับเส้นศูนย์สูตร) กำหนดโดยความเอียงของแกนหมุนโลกเทียบกับระนาบวงโคจรของโลก


== ชื่อ ==
== ชื่อ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:34, 12 กันยายน 2563

23°26′14″N 0°0′0″W / 23.43722°N -0.00000°E / 23.43722; -0.00000 (Prime Meridian) [[ไฟล์:World แผนที่โลก นอกเหนือจากวงกลมอาร์กติกและแอนตาร์กติกและเส้นศูนย์สูตร ตำแหน่งของวงกลมละติจูดเหล่านี้ (สัมพันธ์กับเส้นศูนย์สูตร) กำหนดโดยความเอียงของแกนหมุนโลกเทียบกับระนาบวงโคจรของโลก

ชื่อ

เส้นสมมตินี้เรียก ทรอปิกออฟแคนเซอร์ เพราะเมื่อดวงอาทิตย์ถึงจุดยอด (zenith) ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์กำลังเข้าสู่ราศีกรกฎ (แคนเซอร์) หรือครีษมายันในซีกโลกเหนือ เมื่อมีการตั้งชื่อ ดวงอาทิตย์ยังอยู่ในทิศทางของกลุ่มดาวปู (cancer เป็นภาษาละตินหมายถึงปู) ในโหราศาสตร์เขตร้อน ซึ่งแบ่งสุริยวิถีเป็นสิบสองส่วน ส่วนละ 30° เริ่มจากวสันตวิษุวัต ดวงอาทิตย์จะเข้าราศีกรกฎในเวลานี้เสมอ

อ้างอิง