ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
}}
}}


'''ยุง''' เป็น[[แมลง]]ที่พบได้ยาก
'''ยุง''' เป็น[[แมลง]]ที่พบได้ทั่วโลกแต่พบมากในเขตร้อนและเขตอบอุ่น โดยปกติ ลูกน้ำมักจะกินจำพวก แบคทีเรีย โปรโตซัว ยีสต์ สาหร่าย และพืชน้ำที่มีขนาดเล็กยุงตัวเมียกินน้ำหวานและ[[เลือด]]เป็นอาหาร ส่วนตัวผู้มักจะกินน้ำหวานจากดอกไม้ ยุงยังเป็นแมลงที่เป็น[[พาหะ]]แพร่[[เชื้อโรค]]อีกด้วย เช่น [[ไข่เลือดออก|ไข้เลือดออก]] ยุงทั่วโลกมีอยู่ประมาณ 3450 ชนิด แต่พบในประเทศไทยประมาณ 412 ชนิด แต่ที่คุ้นเคยกันดี คือ [[ยุงก้นปล่อง]] (Anopheles) และ[[ยุงลาย]] (Aedes)<ref>[http://dpc4.ddc.moph.go.th/groups/vbdc43pk/index.php?option=com_content&view=article&id=262:-mosquitoes&catid=127:2009-12-11-18-46-30 ยุง (Mosquitoes)]</ref><ref>[http://icd.ddc.moph.go.th/index.php?option=com_content&task=view&id=132&Itemid=59&lang=en ยุง] </ref>


== Systematics ==
== Systematics ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:21, 7 สิงหาคม 2563

ยุง
Anopheles gambiae
สถานะการอนุรักษ์
ปลอดภัยจากการคุกคาม
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Arthropoda
ชั้น: Insecta
อันดับ: Diptera
อันดับย่อย: Nematocera
อันดับฐาน: Culicomorpha
วงศ์: Culicidae
ความหลากหลาย
41 genera

ยุง เป็นแมลงที่พบได้ยาก

Systematics

ตุ่มคันที่เกิดจากยุงกัด

เมื่อยุงดูดเลือดเหยื่อ ยุงจะปล่อยน้ำลายซึ่งมีโปรตีนบางอย่างออกมาด้วย และน้ำลายของยุงยังอยู่ในรอยเจาะ เป็นตัวการทำให้ผิวหนังหลั่งสารฮิสตามีน (histamine) ออกมา ฮิสตามีนจะกระตุ้นเส้นใยประสาทให้ส่งสัญญาณไปที่สมองแล้วทำให้เกิดอาการคัน และโปรตีนในน้ำลายของยุงยังไปกระตุ้นการตอบสนองของภูมิคุ้มกันอีกด้วย ทำให้บริเวณที่โดนกัด (weal) จะเกิดการบวมแดง แม้ว่าในที่สุดแล้วการบวมจะหายไป แต่อาการคันยังคงอยู่จนกว่าภูมิคุ้มกันจะทำให้โปรตีนนั้นสลายไป

อ้างอิง

  • ยุง โดย รศ.ดร.ปรัชญา สมบูรณ์ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่