ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออร์เคสตรา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ok so enjoy with this new wikipedia.
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Okok ok
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
แม้ว่าวงซิมโฟนีออร์เคสตราในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ยังคงมีบทบาทสำคัญในดนตรีตะวันตก ปัจจัยทางเศรษฐกิจก็มีส่วนในการกำหนดขนาดวงออร์เคสตรา หรือแนวทางการประพันธ์เพลงเพื่อใช้กับวงออร์เคสตรา แต่สิ่งนี้ก็มิได้กีดกั้นการสร้างสรรค์ผลงานประเภทที่ใช้วงออร์เคสตราของผู้ประพันธ์เพลงแต่อย่างใด
แม้ว่าวงซิมโฟนีออร์เคสตราในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ยังคงมีบทบาทสำคัญในดนตรีตะวันตก ปัจจัยทางเศรษฐกิจก็มีส่วนในการกำหนดขนาดวงออร์เคสตรา หรือแนวทางการประพันธ์เพลงเพื่อใช้กับวงออร์เคสตรา แต่สิ่งนี้ก็มิได้กีดกั้นการสร้างสรรค์ผลงานประเภทที่ใช้วงออร์เคสตราของผู้ประพันธ์เพลงแต่อย่างใด


Hoho told you nothing to read
== เครื่องดนตรี ==
เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงออร์เคสตรา โดยธรรมดาแล้ว จะมีสัดส่วนดังนี้
* [[เครื่องลมไม้]]:
** 2-4 [[ฟลูต]] 1-2 [[ปิคโคโล]] (ฟลู้ตคนที่ 3 กับ 4)
** 2-4 [[โอโบ]] 1-2 [[อิงลิชฮอร์น]] (โอโบคนที่ 3 กับ 4)
** 2-4 [[คลาริเน็ต]] 1-2 [[คลาริเน็ต|เบสคลาริเน็ต]] (คลาริเน็ตคนที่ 3 กับ 4)
** 2-4 [[บาสซูน]] 1-2 [[คอนทราบาสซูน]] (บาสซูนคนที่ 3 กับ 4)
* [[เครื่องลมทองเหลือง]]:
** 2 ถึง 8 [[ฮอร์น]]
** 2 ถึง 8 [[ทรัมเป็ต]]
** 2-4 [[ทรอมโบน]]
** 1-2 [[ทรอมโบน|เบส ทรอมโบน]]
** 1 [[ทูบา]]
* [[เครื่องกระทบ]]:
** [[กลองทิมปานี]]
** [[กลองใหญ่]]
** [[กลองเล็ก]]
** [[ฉาบ]]
** [[แทม-แทม]]
** [[กิ๋ง]]
** [[แทมบูริน]]
** [[มาราคัส]]
** [[คาสตาเน็ท]]
** [[บล็อกไม้]]
** [[ระฆัง]]
** [[กล็อกเคนชปีล]]
** [[ไซโลโฟน]]
** [[เชเลสตา]] ฯลฯ
* [[เครื่องสาย]]:
** [[ฮาร์ป]]
** 16 ถึง 30 (หรือมากกว่า) [[ไวโอลิน]]
** 8 ถึง 12 (หรือมากกว่า) [[วิโอลา]]
** 8 ถึง 12 (หรือมากกว่า) [[เชลโล]]
** 5 ถึง 8 (หรือมากกว่า) [[ดับเบิลเบส]] และ
* [[เครื่องลิ่มนิ้ว]]
** [[เปียโน]]

* บางครั้งก็จะมีการใช้เครื่องเป่าในแนวอื่นอีกเช่น [[แซกโซโฟน]] และ [[ยูโฟเนียม]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:39, 26 กรกฎาคม 2563

hello my name is ######### i am gonna change everything in this wikipedia HHAHAHAHAHAHAHAH ok so bye bye bye bye.

ประวัติ

ออร์เคสตรา เป็นาษเยอรมัน ตามความหมายรูปศัพท์ หมายถึง สถานที่เต้นรำ ซึ่งหมายถึง ส่วนหน้าของโรงละครสมัยกรีกโบราณ ที่ใช้เป็นที่เต้นรำและร้องเพลง ของพวกนักร้องประสานเสียง สำหรับดนตรีตะวันตก ออร์เคสตรา มีความหมายถึง วงซิมโฟนี ออร์เคสตรา ได้แก่ วงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย รวมกับเครื่องลมไม้ เครื่องทองเหลือง และเครื่องกระทบ

ต่อมาในกลางศตวรรษที่ 18 คำว่า ออร์เคสตรา หมายถึง การแสดงของวงดนตรี ซึ่งเป็นความหมายที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามคำนี้ยังคงใช้ในอีกความหมายหนึ่ง คือ พื้นที่ระดับต่ำที่เป็นที่นั่งอยู่หน้าเวทีละคร และโรงคอนเสิร์ต

ระยะต่อมาในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อเริ่มกำหนดจำนวนเครื่องดนตรีลงในบทเพลง การพัฒนาวงออร์เคสตราจึงเริ่มมีขึ้น ซึ่งในระยะแรกเป็นลักษณะของวงเครื่องสาย (String Orchestra) ซึ่งมีจำนวนผู้เล่นประมาณ 10 ถึง 25 คน โดยบางครั้งอาจจะมีมากกว่านี้ตามความต้องการของผู้ประพันธ์เพลง ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 วงออร์เคสตรามีการเพิ่มเครื่องลมไม้ และตอนปลายของยุคบาโรค (ประมาณ ค.ศ. 1750) ผู้ประพันธ์เพลงนิยมบอกจำนวนเครื่องดนตรีไว้ในบทเพลงโดยละเอียด นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มเครื่องลมทองเหลือง และเครื่องกระทบในวงออร์เคสตรา

ราวกลางศตวรรษที่ 18 วงออร์เคสตราเป็นรูปแบบขึ้นมาจนได้มาตรฐานในยุคนี้ คือ ยุคคลาสสิก ซึ่งเหตุผลประการหนึ่ง คือ บทเพลงประเภทซิมโฟนีเป็นรูปแบบขึ้นมาในยุคนี้ จึงทำให้ต้องมีการจัดวงออร์เคสตราให้มีมาตรฐานเพื่อใช้เล่นเพลงซิมโฟนี นอกจากนี้การบรรเลงบทเพลงประเภทคอนแชร์โต้ อุปรากร และเพลงร้องเกี่ยวกับศาสนาก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้การพัฒนาวงออร์เคสตราเป็นแบบแผนขึ้น

กลางศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นยุคโรแมนติก มีการเพิ่มจำนวนเครื่องดนตรีเข้าไปในวงออร์เคสตรา ทำให้วงมีขนาดที่ใหญ่ขึ้น เนื่องจากในยุคโรแมนติกนั้น นิยมเล่นบทเพลงประเภทดนตรีบรรยายเรื่องราว รวมถึงอุปรากร บัลเล่ต์ และบทเพลงร้องประสานเสียง ล้วนมีผลให้วงออร์เคสตราเพิ่มขนาดขึ้นเพื่อความยิ่งใหญ่และความสมจริงสมจัง เพื่อให้สามารถบรรยายเรื่องราวให้ได้ตรงตามที่ผู้ประพันธ์เพลงตั้งใจไว้

แม้ว่าวงซิมโฟนีออร์เคสตราในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ยังคงมีบทบาทสำคัญในดนตรีตะวันตก ปัจจัยทางเศรษฐกิจก็มีส่วนในการกำหนดขนาดวงออร์เคสตรา หรือแนวทางการประพันธ์เพลงเพื่อใช้กับวงออร์เคสตรา แต่สิ่งนี้ก็มิได้กีดกั้นการสร้างสรรค์ผลงานประเภทที่ใช้วงออร์เคสตราของผู้ประพันธ์เพลงแต่อย่างใด

Hoho told you nothing to read

อ้างอิง

  • สุทธจิตต์, ณรุทธ์. สังคีตนิยม ความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ISBN 974-13-3341-2.