ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงสร้างของโลก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
=== มวลของโลก ===
=== มวลของโลก ===
แรงกระทำโดย[[แรงโน้มถ่วงของโลก]]สามารถนำมาใช้ในการคำนวณหา[[มวล]]ของโลกและการประมาณค่าปริมาตรของโลกได้ ดังนั้น[[ความหนาแน่น]] (density) เฉลี่ยของโลกก็จะสามารถคำนวณได้ นักดาราศาสตร์ยังสามารถคำนวณหามวลของโลกได้จากวงโคจรและผลกระทบต่อวัตถุที่วางอยู่บนดาวเคราะห์ในระยะใกล้เคียงได้
แรงกระทำโดย[[แรงโน้มถ่วงของโลก]]สามารถนำมาใช้ในการคำนวณหา[[มวล]]ของโลกและการประมาณค่าปริมาตรของโลกได้ ดังนั้น[[ความหนาแน่น]] (density) เฉลี่ยของโลกก็จะสามารถคำนวณได้ นักดาราศาสตร์ยังสามารถคำนวณหามวลของโลกได้จากวงโคจรและผลกระทบต่อวัตถุที่วางอยู่บนดาวเคราะห์ในระยะใกล้เคียงได้

===โครงสร้างของโลก===
{{multiple image
| align = right
| direction = vertical
| width = 300
<!-- Image 1 -->
| image1 = RadialDensityPREM.jpg
| alt1 =
| caption1 = การแจกแจงค่าความหนาแน่นตามแนวรัศมีของโลกตามแบบจำลองโลกอ้างอิงเบื้องต้น (preliminary reference earth model) (PREM)<ref name="prem">{{cite journal|author=A. M. Dziewonski, D. L. Anderson|pmc=411539|title=Preliminary reference Earth model |journal=Physics of the Earth and Planetary Interiors|year= 1981|volume=25|issue=4|pages=297–356|url=http://www.gps.caltech.edu/uploads/File/People/dla/DLApepi81.pdf|doi=10.1016/0031-9201(81)90046-7|issn=0031-9201|pmid=16592703}}</ref>
<!-- Image 2 -->
| image2 = EarthGravityPREM.svg
| alt2 =
| caption2 = แรงโน้มถ่วงของโลกตามแบบจำลองโลกอ้างอิงเบื้องต้น (PREM) <ref name="prem"/> การเปรียบเทียบการประมาณค่าของการใช้ค่าความหนาแน่นคงที่และความหนาแน่นเชิงเส้นสำหรับภายในของโลก
<!-- Image 3 -->
| image3 = Earthquake wave paths.svg
| alt3 =
| caption3 = การทำแผนที่ภายในของ[[โลก]]ด้วยคลื่น[[แผ่นดินไหว]]
<!-- Image 4 -->
| image3 = Slice earth.svg
| alt3 =
| caption3 = มุมมองแผนผังโครงสร้างภายในของโลก 1. เปลือกทวีป – 2. เปลือกมหาสมุทร – 3. แมนเทิลด้านบน – 4. แมนเทิลด้านล่าง – 5. แกนชั้นนอก – 6. แกนชั้นใน – A: [[ความไม่ต่อเนื่องของโมโฮโลวิคซิค]] ([[Mohorovičić discontinuity]]) – B: [[ความไม่ต่อเนื่องของกูเทนเบิร์ก]] ([[Gutenberg Discontinuity]]) – C: [[แกนโลกชั้นใน|ความไม่ต่อเนื่องของเลห์แมนน์-บัลเลน (Lehmann–Bullen discontinuity)]]}}

โครงสร้างของโลกสามารถกำหนดนิยามได้ในสองแนวทางคือ : โดยคุณสมบัติเชิงทางกล เช่น [[วิทยาศาสตร์การไหล]] (rheology) หรือ คุณสมบัติทางเคมี คุณสมบัติโครงสร้างภายในของโลกในทางกายภาพนั้น, ก็สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ชั้น ได้แก่ ชั้น[[ธรณีภาค]] (lithosphere), ชั้น[[ฐานธรณีภาค]] (asthenosphere), ชั้น[[เนื้อโลกมัชฌิมภาค]] (mesospheric mantle) <ref>http://www.rmutphysics.com/charud/naturemystery/sci3/earthquake/thai2.html</ref> <ref>http://nkw04945.wordpress.com/%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84/</ref>, [[แกนโลกชั้นนอก]] (outer core) และ [[แกนโลกชั้นใน]] (inner core) ในทางเคมี, โครงสร้างภายในของโลกแบ่งออกเป็น 5 ชั้นที่สำคัญ, สามารถแบ่งออกได้เป็น [[เปลือกโลก]] (crust), เนื้อโลกตอนบน (upper mantle), เนื้อโลกตอนล่าง (lower mantle), แกนโลกชั้นนอก, และแกนโลกชั้นใน องค์ประกอบทางธรณีวิทยาในระดับชั้นต่าง ๆ ของโลก <ref>{{cite journal|author=T. H. Jordan|pmc=411539|title= Structural Geology of the Earth's Interior|journal=Proceedings of the National Academy of Sciences|year= 1979|volume=76|issue=9|pages=4192–4200|doi=10.1073/pnas.76.9.4192|pmid=16592703|bibcode = 1979PNAS...76.4192J }}</ref> อยู่ที่ระดับความลึกภายใต้พื้นผิวลงไปดังต่อไปนี้:

{| class="wikitable" style="text-align: center;"
|-
!colspan=2|ความลึก
! rowspan="2" style="vertical-align:bottom;"|ระดับชั้น
|-
!style="font-weight:normal;"| กิโลเมตร
!style="font-weight:normal;"| ไมล์
|-
| 0–60
| 0–37
|style="text-align:left;"| ธรณีภาค (Lithosphere) (เฉพาะส่วนที่แตกต่างกันระหว่าง 5 และ 200 กิโลเมตร)
|- style="background: #FEFEFE;"
| 0–35
| 0–22
|style="text-align:left;"| ... เปลือกโลก (Crust) (เฉพาะส่วนที่แตกต่างกันระหว่าง 5 และ 70 กิโลเมตร)
|- style="background: #FEFEFE;"
| 35–60
| 22–37
|style="text-align:left;"| ... ส่วนบนสุดของแมนเทิล
|-
| 35–2,890
| 22–1,790
|style="text-align:left;"| เนื้อโลก หรือ แมนเทิล (Mantle)
|- style="background: #FEFEFE;"
| 100–200
| 210-270
|style="text-align:left;"| ... มัชฌิมภาคส่วนบน (Upper mesosphere) (แมนเทิลส่วนบน)
|- style="background: #FEFEFE;"
| 660–2,890
| 410–1,790
|style="text-align:left;"| … มัชฌิมภาคส่วนล่าง (Lower mesosphere) (แมนเทิลส่วนล่าง)
|-
| 2,890–5,150
| 1,790–3,160
|style="text-align:left;"| แกนโลกด้านนอก (Outer core)
|-
| 5,150–6,360
| 3,160–3,954
|style="text-align:left;"| แกนโลกด้านใน (Inner core)
|}

โครงสร้างแต่ละชั้นของโลกได้รับการคาดการณ์โดยทางอ้อมโดยใช้เวลาในการเดินทางของการหักเหและการสะท้อนของคลื่นแผ่นดินไหวที่ถูกสร้างขึ้นจากการเกิดแผ่นดินไหว แกนโลกนั้นจะไม่อนุญาตให้คลื่นเฉือน (shear wave) เคลื่อนที่ผ่านมันไปได้ในขณะที่ความเร็วของการเดินทาง (ความเร็วของ[[คลื่นไหวสะเทือน]] (seismic velocity)) จะมีความเร็วแตกต่างกันในระดับชั้นอื่น ๆ การเปลี่ยนแปลงความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนระหว่างชั้นที่แตกต่างกันจะทำให้เกิดการหักเหของทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นอันเนื่องมาจาก[[กฎของสเนลล์]] (Snell's law) เหมือนการเบี่ยงเบนทิศทางของแสงขณะที่มันผ่านปริซึม ในทำนองเดียวกันการสะท้อนจะเกิดจากการเพิ่มขึ้นอย่างมากในความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนและมีความคล้ายคลึงกับแสงสะท้อนจากกระจก


===แกนโลก===
===แกนโลก===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:15, 26 ธันวาคม 2562

โครงสร้างของโลก

โครงสร้างภายในของโลกแบ่งเป็นชั้นในเปลือกทรงกลมคล้ายหัวหอม ชั้นเหล่านี้สามารถนิยามโดยคุณสมบัติทางเคมีหรือวิทยากระแส (rheology) ของมัน โลกมีเปลือกแข็งซิลิเกตชั้นนอก เนื้อโลกที่หนืดมาก แก่นนอกที่เหลวซึ่งหนืดน้อยกว่าเนื้อโลกมาก และแก่นในแข็ง ความเข้าใจโครงสร้างภายในของโลกอาศัยการสังเกตภูมิลักษณ์และการวัดความลึกของมหาสมุทร (bathymetry) การสังเกตหินในหินโผล่ ตัวอย่างซึ่งถูกนำสู่พื้นผิวจากชั้นที่ลึกกว่าโดยกิจกรรมภูเขาไฟ การวิเคราะห์คลื่นแผ่นดินไหวซึ่งผ่านโลก การวัดสนามความโน้มถ่วงของโลกและการทดลองกับของแข็งผลึกที่ลักษณะเฉพาะความดันและอุณหภูมิของภายในชั้นลึกของโลก

มวลของโลก

แรงกระทำโดยแรงโน้มถ่วงของโลกสามารถนำมาใช้ในการคำนวณหามวลของโลกและการประมาณค่าปริมาตรของโลกได้ ดังนั้นความหนาแน่น (density) เฉลี่ยของโลกก็จะสามารถคำนวณได้ นักดาราศาสตร์ยังสามารถคำนวณหามวลของโลกได้จากวงโคจรและผลกระทบต่อวัตถุที่วางอยู่บนดาวเคราะห์ในระยะใกล้เคียงได้

แกนโลก

ความหนาแน่นเฉลี่ยของโลกคือ 5,515 kg/m3 เนื่องจากความหนาแน่นเฉลี่ยของพื้นผิวของโลกมีค่าเพียงประมาณ 3,000 kg/m3 เราจึงสรุปว่าจะต้องมีวัตถุที่มีความหนาแน่นอยู่ภายในแกนของโลก การตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนแสดงให้เห็นว่าแกนโลกจะแบ่งออกเป็นสองส่วน ได้แก่ ส่วนที่เป็น "ของแข็ง" จะอยู่ตรงแกนโลกชั้นในที่มีรัศมีประมาณ 1,220 กิโลเมตร [1] และส่วนที่เป็นของเหลว จะอยู่บริเวณแกนโลกชั้นนอกที่ขยายขอบเขตอาณาบริเวณเป็นรัศมีเกินกว่าประมาณ 3,400 กม มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 9,900 และ 12,200 kg/m3 ในแกนชั้นนอกและ 12,600-13,000 kg/m3 ในแกนชั้นใน [2]

แกนโลกชั้นในถูกค้นพบในปี 1936 โดย อิงเง ลีแมน [3] (Inge Lehmann) และเชื่อกันว่าโดยทั่วไปจะมีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็กและนิกเกิลเป็นบางส่วน มันไม่จำเป็นต้องเป็นของแข็ง, แต่, เพราะมันสามารถที่จะหันเห (deflect) ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นแผ่นดินไหวได้, มันจึงต้องประพฤติตัวเป็นของแข็งได้ในบางสมัย หลักฐานที่ได้รับจากการทดลองได้จากในช่วงเวลาวิกฤตของแบบจำลองผลึกของแกนโลก [4]

แมนเทิล

แผนที่โลกแสดงตำแหน่งของโมโฮ (Moho)

ชั้นแมนเทิลหรือเนื้อโลก (Earth's mantle) แผ่ขยายไปถึงระดับความลึกประมาณ 2,890 กม. ทำให้มันเป็นชั้นที่มีความหนามากที่สุดในภายในโครงสร้างของโลก

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Monnereau, Marc; Calvet, Marie; Margerin, Ludovic; Souriau, Annie (May 21, 2010). "Lopsided Growth of Earth's Inner Core". Science. 328 (5981): 1014–1017. Bibcode:2010Sci...328.1014M. doi:10.1126/science.1186212. PMID 20395477.
  2. Hazlett, James S. Monroe; Reed Wicander; Richard (2006). Physical geology : exploring the earth; [the wrath of Hurricane Katrina ; Could you survive a Tsunami?; catastrophic earthquakes; global warming] (6. ed.). Belmont: Thomson. p. 346. ISBN 9780495011484.
  3. http://nstrusced.blogspot.com/2008_06_01_archive.html
  4. Stixrude, Lars; Cohen, R.E. (January 15, 1995). "Constraints on the crystalline structure of the inner core: Mechanical instability of BCC iron at high pressure". Geophysical Research Letters. 22 (2): 125–128. Bibcode:1995GeoRL..22..125S. doi:10.1029/94GL02742.

ดูเพิ่ม

  • Kruglinski, Susan. "Journey to the Center of the Earth." Discover.
  • Lehmann, I. (1936) Inner Earth, Bur. Cent. Seismol. Int. 14, 3–31
  • Schneider, David (October 1996) A Spinning Crystal Ball, Scientific American
  • Wegener, Alfred (1915) "The Origin of Continents and Oceans"