ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธุรกิจอัจฉริยะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ธุรกิจอัจฉริยะอิอินะ''' ({{lang-en|Business Intelligence - BI}}) เป็นเทคนิคที่ไม่ใช้[[คอมพิวเตอร์]]ในการวิเคราะห์ ดึงข้อมูลที่โดดเด่น ตัวอย่างเช่น ยอดขาย หรือ สินค้า จากหน่วยใดหน่วยหนึ่งมาแสดงผล<ref>{{cite web |url=http://www.businessdictionary.com/definition/business-intelligence-BI.html |title= BusinessDictionary.com definition |accessdate= 17 March 2010}}</ref> โดยใช้รูปแบบการวิเคราะห์[[ข้อมูล]] และนำเสนอข้อมูลที่จะช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้เร็วขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น
'''ธุรกิจอัจฉริยะอิอินะ''' ({{lang-en|Business Intelligence - BI}}) เป็นเทคนิคที่ไม่ใช้[[คอมพิวเตอร์]]ในการวิเคราะห์ ดึงข้อมูลที่โดดเด่น ตัวอย่างเช่น ยอดขาย หรือ สินค้า จากหน่วยใดหน่วยหนึ่งมาแสดงผล<ref>{{cite web |url=http://www.businessdictionary.com/definition/business-intelligence-BI.html |title= BusinessDictionary.com definition |accessdate= 17 March 2010}}</ref> โดยใช้รูปแบบการวิเคราะห์[[ข้อมูล]]ของโต็ดเอง และนำเสนอข้อมูลที่จะช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้เร็วขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น


'''ธุรกิจอัจฉริยะ''' เป็นการใช้ข้อมูลขององค์กรที่มีคุณค่ามาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการเข้าถึงข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการค้นพบโอกาสใหม่ๆ ทางธุรกิจ
'''ธุรกิจอัจฉริยะ''' เป็นการใช้ข้อมูลขององค์กรที่มีคุณค่ามาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการเข้าถึงข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการค้นพบโอกาสใหม่ๆ ทางธุรกิจ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:46, 4 ธันวาคม 2562

ธุรกิจอัจฉริยะอิอินะ (อังกฤษ: Business Intelligence - BI) เป็นเทคนิคที่ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ ดึงข้อมูลที่โดดเด่น ตัวอย่างเช่น ยอดขาย หรือ สินค้า จากหน่วยใดหน่วยหนึ่งมาแสดงผล[1] โดยใช้รูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลของโต็ดเอง และนำเสนอข้อมูลที่จะช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้เร็วขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ธุรกิจอัจฉริยะ เป็นการใช้ข้อมูลขององค์กรที่มีคุณค่ามาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการเข้าถึงข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการค้นพบโอกาสใหม่ๆ ทางธุรกิจ

ระบบธุรกิจอัจฉริยะใช้เครื่องมือ (Tools) ที่สำคัญ คือ เทคนิคคลังข้อมูล (Data Warehouse), เหมืองข้อมูล (Data Mining)

วัตถุประสงค์หลักของธุรกิจอัจฉริยะ 1) ทำให้เจ้าของธุรกิจ ผู้บริหาร หรือพนักงานที่เกียวข้องสามารถเข้าถึงเข้ามูลได้ง่าย ช่วยให้สามารถวิเคราะ์และตัดสินใจทางธุรกิจได้อย่างแม่นยำ 2) ธุรกิจอัจฉริยะช่วยเปลี่ยนสภาพ (transform) ข้อมูล (Data) ไปสู่สารสนเทศ (Information) และองค์ความรู้ (Knowledge) สุดท้ายทำให้ผู้ใช้สามารถติดสินทางธุรกิจได้ (Make Business Decision) อย่างชาญฉลาด แล้วนำไปปฏิบัติจนเกิดผล (Take Action) 3) ช่วยเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันทางธุรกิจขององค์กร 4) ช่วยให้สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคหรือลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กระบวนการหลักของธุรกิจอัจฉริยะ 1) Decision Support 2) Query Data 3) Report 4) OLAP 5) Statistical Analysis 6) Prediction 7) Data Mining

สถาปัตยกรรมของธุรกิจอัจฉริยะ ประกอบด้วย 1) คลังข้อมูล (Data Warehouse) 2) เครื่องมือในการวิเคราะห์ทางธุรกิจ (Business Analytic Tools) 3) การจัดการสมรรถนะทางธุรกิจ (Business Performance Management) 4) ส่วนติดต่อประสานงานผู้ใช้ (User Interface)

ธุรกิจอัจฉริยะทำงานอย่างไร

ธุรกิจอัจฉริยะกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจเกี่ยวข้องกันอย่างไร

อ้างอิง

  1. "BusinessDictionary.com definition". สืบค้นเมื่อ 17 March 2010.