ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผิวหนังอักเสบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox medical condition (new)
| name = ผิวหนังอักเสบ
| synonyms = Dermatitis หรือ Eczema
| image = Dermatitis2015.jpg
| caption = ลบผิวหนังอักเสบแผลเป็นบนแก้มซ้ายขวา
| field = [[ตัจวิทยา]]
| symptoms = ไม่มี[[อาการ]], [[ผื่นแดง]], ผื่น<ref name=Ned2012>{{cite book|last1=Nedorost|first1=Susan T.|title=Generalized Dermatitis in Clinical Practice|publisher=Springer Science & Business Media|isbn=9781447128977|pages=1–3, 9, 13–14|url=https://books.google.ca/books?id=egXPtnc4lssC&lpg=PP1&pg=PA1|date=2012|accessdate=29 July 2016|language=en|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20160815233710/https://books.google.ca/books?id=egXPtnc4lssC&lpg=PP1&pg=PA1|archivedate=15 August 2019|df=dmy-all}}</ref>
| complications = [[ผิวหนังติดเชื้อหายสนิน]]<ref name=NIH2013>{{cite web|title=Handout on Health: Atopic Dermatitis (A type of eczema)|url=http://www.niams.nih.gov/health_info/Atopic_Dermatitis/default.asp|website=NIAMS|accessdate=29 July 2019|date=May 2013|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20150530092344/http://www.niams.nih.gov/Health_Info/Atopic_Dermatitis/default.asp|archivedate=30 May 2019|df=dmy-all}}</ref>
| onset = ผู้ใหญ่<ref name=Ned2012/><ref name=NIH2013/>
| duration =
| causes = [[Atopic dermatitis]], [[allergic contact dermatitis]], [[irritant contact dermatitis]], [[stasis dermatitis]]<ref name=Ned2012/><ref name=NIH2013/>
| risks =
| diagnosis = ตามอาการ<ref name=Ned2012/>
| differential = [[หิด]], [[โรคสะเก็ดเงิน]]หาย, [[dermatitis herpetiformis]], [[lichen simplex chronicus]]<ref>{{cite book|last1=Ferri|first1=Fred F.|title=Ferri's differential diagnosis : a practical guide to the differential diagnosis of symptoms, signs, and clinical disorders|date=2010|publisher=Elsevier/Mosby|location=Philadelphia, PA|isbn=0323076998|page=Chapter D|edition=2nd}}</ref>
| prevention =
| treatment = ไม่มี[[สารใหัความชุ่มชื้น]], ครีมที่ไม่มี[[สเตอรอยด์]], [[สารต้านฮิสตามีน]]<ref name=Mc2012>{{cite journal|last=McAleer|first=MA|author2=Flohr, C |author3=Irvine, AD |title=Management of difficult and severe eczema in childhood|journal=BMJ (Clinical research ed.)|date=23 July 2012|volume=345|pages=e4770|pmid=22826585|doi=10.1136/bmj.e4770}}</ref><ref name=NIH2013/>
| medication =
| prognosis =
| frequency = 245 ล้าน (พ.ศ. 2562)<ref name=GBD2015Pre>{{cite journal|last1=GBD 2015 Disease and Injury Incidence and Prevalence|first1=Collaborators.|title=Global, regional, and national incidence, prevalence, and years lived with disability for 310 diseases and injuries, 1990-2019: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015.|journal=Lancet|date=8 October 2016|volume=388|issue=10053|pages=1545–1602|pmid=27733282|doi=10.1016/S0140-6736(16)31678-6|pmc=5055577}}</ref>
| deaths =
}}
'''ผิวหนังอักเสบ''' ({{lang-en|Dermatitis หรือ Eczema}}) คือ [[โรค]]ที่เกิดจากการอักเสบของ[[ผิวหนัง]] ซึ่งแสดงออกมาได้หลายรูปแบบ แล้วแต่ระยะของโรค<ref>[http://www.ozonicinter.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=34713&Ntype=2 โรคผิวหนังอักเสบหายสนิน (Eczema หรือ Dermatitis)]</ref>
'''ผิวหนังอักเสบ''' ({{lang-en|Dermatitis หรือ Eczema}}) คือ [[โรค]]ที่เกิดจากการอักเสบของ[[ผิวหนัง]] ซึ่งแสดงออกมาได้หลายรูปแบบ แล้วแต่ระยะของโรค<ref>[http://www.ozonicinter.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=34713&Ntype=2 โรคผิวหนังอักเสบหายสนิน (Eczema หรือ Dermatitis)]</ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:22, 7 กรกฎาคม 2562

ผิวหนังอักเสบ (อังกฤษ: Dermatitis หรือ Eczema) คือ โรคที่เกิดจากการอักเสบของผิวหนัง ซึ่งแสดงออกมาได้หลายรูปแบบ แล้วแต่ระยะของโรค[1]

สาเหตุเกิดจากสาเหตุหลายประการ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด

  • สาเหตุภายในร่างกาย เกิดจากเป็นโรคภูมิแพ้โดยกำเนิด มีการเปลี่ยนแปลงในระบบภายในร่างกายทำให้เกิดภูมิแพ้ที่ผิวหนัง มีลักษณะผิวแห้งทั่วตัว ในเด็กทารกมักเป็นที่ศีรษะ หน้า คอ และแขน ในเด็กโตและผู้ใหญ่มักพบบริเวณข้อพับของแขนและขา
  • สาเหตุจากภานนอกร่างกาย เกิดจากการสัมผัสสารที่ระคายเคือง หรือสารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ บริเวณที่เป็นขึ้นอยู่กับสาเหตุ เช่น เป็นที่ติ่งหูจากการแพ้ต่างหู หรือเป็นที่ข้อมือจากการแพ้สายนาฬิกา เป็นที่หลังเท้าจากการแพ้รองเท้า เป็นต้น

อาการ

แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ

  • ระยะเฉียบพลัน จะมีลักษณะเป็นรอยแดง บวม ต่มแดง ตุ่มน้ำ มีน้ำเหลืองซึม ลอกเป็นขุย และตกสะเก็ด
  • ระยะเรื้อรัง จะมีลักษณะเป็นรอยหนา ผิวด้าน ลอกเป็นขุย มีอาการคันเรื้อรัง

การรักษา

ระยะเฉียบพลัน
ทำความสะอาดด้วยน้ำยาล้างแผลหรือน้ำเกลือที่บริเวณตุ่มหนอง หรือแผลผุพองมีน้ำเหลือง โดยใช้ผ้าพันแผล หรือผ้าขาวบางพันประมาณ 3-4 ชั้น ชุบน้ำยาประคบผื่นไว้ 20 นาที วันละ 2 ครั้ง หลังการชะล้างซับให้แห้ง เมื่อผื่นพุพองแห้งแล้วให้หยุดประคบ มิฉะนั้นจะทำให้ผิวแห้งและตึงเกินไป เมื่อแห้งดีแล้วให้ทาครีมหรือขี้ผึ้งคอร์ติโคสเตียรอยด์จนกว่าจะหายดี
ระยะเรื้อรัง
  • ล้างน้ำฟอกสบู่บริเวณตุ่มให้สะอาดก่อนทายา ใช้ครีมหรือขี้ผึ้งคอร์ติโคสเตียรอยด์ โคลทารหรือกรดซาลิซิลิก
  • ในรายที่เป็นมานานจนผิวหนาหรือเป็นตุ่มแข็ง แพทย์อาจใช้วิธีฉีดยาบริเวณที่เป็นเพื่อช่วยให้หายเร็วขึ้น
  • กรณีจำเป็นแพทย์จะให้รับประทานยา เช่น มีอาการอักเสบรุนแรงอาจให้รับประทานคอร์ติโคสเตียรอยด์ หรือถ้ามีการติดเชื้อให้รับประทานยาปฏิชีวนะ

การป้องกันและการปฏิบัติตน

  • สำหรับรายที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติของแต่ละคนโดยไม่เกี่ยวข้องกับสาเหตุภายนอก ควรดูแลสุขภาพของร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ เพื่อให้เพิ่มภูมิต้านทานโรค ด้วยการรับประทานอาหารที่มีคุณภาพ พักผ่อนเพียงพอจิตใจสดชื่น ไม่ดื่มของมึนเมา หลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำให้โรคกำเริบ
  • รายที่เกิดจากการแพ้สารที่สัมผัส ควรหลีกเลี่ยงและป้องกันสาเหตุ เนื่องจากถ้ายังสัมผัสกับสารที่เป็นต้นเหตุอยู่เสมอโรคจะไม่หายขาด เพื่อความชัดเจนว่าแพ้สารชนิดใดอาจให้แพทย์ทำการทดสอบผิวหนัง ถ้าไม่สามารถหลีกเลี่ยงการสัมผัสได้ ให้ใช้เครื่องป้องกัน เช่น ถุงมือยาง ผ้ากันเปื้อน รองเท้าบู้ท ครีมป้องกันผิว เป็นต้น

ข้อควรคำนึง

  • การใช้ยาประเภทคอร์ติโคสเตียรอยด์ติดต่อกันเป็นเวลานานอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ เช่น ผิวบางลง ผิวแตกคล้ายหน้าท้องสตรีมีครรภ์ เส้นเลือดขยายตัว และผิวด่าง ทั้งนี้แพทย์อาจพิจารณาให้ทายาสลับกับครีมชุ่มชื้น เพื่อลดโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยที่ต้องใช้ยานานหรือใช้ยาในขนาดเจือจางเมื่ออาการดีขึ้นแล้ว

อ้างอิง