ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บัวสวรรค์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Sasivimon.swa (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ถิ่นกำเนิด และลักษณะทางพฤกษศาสตร์
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
}}
}}


'''บัวสวรรค์''' หรือ '''กัตตาเวีย'''<ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">เต็ม สมิตินันทน์ [http://web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย''] สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549</ref> เป็น[[พืชดอก]] มีถิ่นกำเนิดมาจาก ตะวันออกกลาง แอฟริกาตะวันออก [[โคลัมเบีย]] [[คอสตาริกา]] และ[[ปานามา]] ซึ่งเป็นประเทศในเขตร้อนชื้น ใกล้เส้นศูนย์สูตร ดังนั้นการนำมาปลูกในบ้านเราจึงเป็นเรื่องไม่ยาก เพราะดอกยิ่งบานเมื่อมี[[อากาศ]]ที่เหมาะสมและสามารถเจริญเติบโตได้ดี โดยสามารถออกดอกได้เหมือนกับต้นที่ปลูกในถิ่นกำเนิด
'''บัวสวรรค์''' หรือ '''กัตตาเวีย'''<ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">เต็ม สมิตินันทน์ [http://web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย''] สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549</ref> เป็น[[พืชดอก]] มีถิ่นกำเนิดมาจากเขตร้อนในทวีปอเมริกากลาง และอเมริกาใต้ บริเวณประเทศ[[โคลัมเบีย]] [[คอสตาริกา]] และ[[ปานามา]] ดังนั้นจึงสามารถปลูกและให้ดอกในประเทศไทย


== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
เป็นไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. '''ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง''' รูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ '''อาจยาวได้ถึง 1 ม. ขอบจักฟันเลื่อย''' ก้านใบยาวได้ถึง 11 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่นสั้น ๆ ออกตามซอกใบ ก้านดอกยาวได้ถึง 8 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วยแบนขอบเรียบ กว้างประมาณ 2.5 ซม. กลีบดอกสีขาวอมม่วงอ่อน '''มี 6-8 กลีบ รูปใบพาย ยาวไม่เท่ากัน''' ยาวได้ถึง 7 ซม. '''เกสรเพศผู้จำนวนมาก โคนเชื่อมติดกันประมาณหนึ่งในสาม โค้งเข้า''' ยาวประมาณ 4 ซม. '''รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลแห้งแตกแบบมีฝาปิด (pyxidia)''' กลม ปลายแบน กว้าง 7-10 ซม. ยาวได้ถึง 8 ซม. ผิวมีช่องอากาศกระจาย เมล็ดรูปร่างไม่แน่นอน ยาวประมาณ 6 ซม. <ref>สารานุกรมพืชในประเทศไทย (ฉบับย่อ) http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?words=%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%8C</ref>
เป็น[[ไม้พุ่ม]]สูง 2 - 5 เมตร เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้ม ใบเวียนเรียงสลับเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง ใบเป็นมัน ไม่ผลัดใบ กลีบดอกหนา ซ้อนเหลื่อมกัน ดอกคล้ายดอก[[บัวหลวง]]แต่ใหญ่และสวยกว่ามาก ดอกมักออกซ่อนอยู่ภายในทรงพุ่ม


== การปลูกเลี้ยง ==
== การปลูกเลี้ยง ==
เป็นพันธุ์ไม้หอมที่ดูแลง่าย ทนต่อสภาพแวดล้อม ชอบแสงแดดจัดและน้ำปานกลางถึงมาก ใบไม่ค่อยร่วง ชอบแดดรำไรถึงแดดจัด หมั่นรดน้ำพรวนดินบ้าง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด, การตอนกิ่ง (เปอร์เซ็นต์การออกรากค่อนข้างต่ำ ประมาณ30%) ,การปักชำ การเพาะเมล็ด ตามธรรมชาติเมล็ดของบัวสวรรค์มีขนาดใหญ่และหนัก จึงไม่สามารถกระจายออกไปไกลจากโคนต้นได้มากนัก เมื่อผลเน่าเสียเมล็ดจะถูกฝังลงดินและงอกเป็นต้นอ่อนขึ้นมา ต้นจากการเพาะเมล็ดจะใช้เวลาในการออกดอกถึงห้าปี ช้ากว่าต้นจากการปักชำ หรือตอนกิ่ง ( ต้นที่สวนลูกจันทร์ ใช้เวลาปลูกถึงออกดอกประมาณ 5 ปี)
เป็นพันธุ์ไม้หอมที่ดูแลง่าย ทนต่อสภาพแวดล้อม ชอบแสงแดดจัดและน้ำปานกลางถึงมาก ใบไม่ค่อยร่วง ชอบแดดรำไรถึงแดดจัด หมั่นรดน้ำพรวนดินบ้าง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด, การตอนกิ่ง (เปอร์เซ็นต์การออกรากค่อนข้างต่ำ ประมาณ30%) ,การปักชำ การเพาะเมล็ด ตามธรรมชาติเมล็ดของบัวสวรรค์มีขนาดใหญ่และหนัก จึงไม่สามารถกระจายออกไปไกลจากโคนต้นได้มากนัก เมื่อผลเน่าเสียเมล็ดจะถูกฝังลงดินและงอกเป็นต้นอ่อนขึ้นมา ต้นจากการเพาะเมล็ดจะใช้เวลาในการออกดอกถึงห้าปี ช้ากว่าต้นจากการปักชำ หรือตอนกิ่ง


== ประโยชน์ ==
== ประโยชน์ ==
ใช้เป็นไม้ประดับ ใบเขียวตลอดปีช่วยให้บ้านดูร่มรื่นเย็นสบาย เยื่อไม้ใช้ทำด้าย น้ำจากก้านดอกอ่อนหมักแล้วกลั่นรับประทาน บำรุงโลหิต และบำรุงธาตุ ลำต้นที่ตรงของเขาใช้ได้ดีสำหรับการก่อสร้าง ในสมัยโบราณ ชาว[[อินเดียนแดง]]ใช้ใบต้มทำยาแก้พิษจากการถูกธนูพิษยิง และแก้พิษไข้ แก้หวัด ที่มีประโยชน์ที่สุดคือ ดอกสวย หอมชื่นใจ
ใช้เป็นไม้ประดับ ใบเขียวตลอดปีช่วยให้บ้านดูร่มรื่นเย็นสบาย เยื่อไม้ใช้ทำด้าย น้ำจากก้านดอกอ่อนหมักแล้วกลั่นรับประทาน บำรุงโลหิต และบำรุงธาตุ ลำต้นที่ตรงของเขาใช้ได้ดีสำหรับการก่อสร้าง ในสมัยโบราณ ชาว[[อินเดียนแดง]]ใช้ใบต้มทำยาแก้พิษจากการถูกธนูพิษยิง และแก้พิษไข้ แก้หวัด ที่มีประโยชน์ที่สุดคือ ดอกสวย หอมชื่นใจ บานในเวลากลางคืน


==อื่นๆ==
==อื่นๆ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:26, 11 เมษายน 2563

บัวสวรรค์
ไฟล์:Buuasawan.jpg
บัวสวรรค์
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Lecythidales
วงศ์: Lecythidaceae
สกุล: Gustavia
สปีชีส์: G.  gracillima
ชื่อทวินาม
Gustavia gracillima
Miers

บัวสวรรค์ หรือ กัตตาเวีย[1] เป็นพืชดอก มีถิ่นกำเนิดมาจากเขตร้อนในทวีปอเมริกากลาง และอเมริกาใต้ บริเวณประเทศโคลัมเบีย คอสตาริกา และปานามา ดังนั้นจึงสามารถปลูกและให้ดอกในประเทศไทย

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

เป็นไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ อาจยาวได้ถึง 1 ม. ขอบจักฟันเลื่อย ก้านใบยาวได้ถึง 11 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่นสั้น ๆ ออกตามซอกใบ ก้านดอกยาวได้ถึง 8 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วยแบนขอบเรียบ กว้างประมาณ 2.5 ซม. กลีบดอกสีขาวอมม่วงอ่อน มี 6-8 กลีบ รูปใบพาย ยาวไม่เท่ากัน ยาวได้ถึง 7 ซม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก โคนเชื่อมติดกันประมาณหนึ่งในสาม โค้งเข้า ยาวประมาณ 4 ซม. รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลแห้งแตกแบบมีฝาปิด (pyxidia) กลม ปลายแบน กว้าง 7-10 ซม. ยาวได้ถึง 8 ซม. ผิวมีช่องอากาศกระจาย เมล็ดรูปร่างไม่แน่นอน ยาวประมาณ 6 ซม. [2]

การปลูกเลี้ยง

เป็นพันธุ์ไม้หอมที่ดูแลง่าย ทนต่อสภาพแวดล้อม ชอบแสงแดดจัดและน้ำปานกลางถึงมาก ใบไม่ค่อยร่วง ชอบแดดรำไรถึงแดดจัด หมั่นรดน้ำพรวนดินบ้าง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด, การตอนกิ่ง (เปอร์เซ็นต์การออกรากค่อนข้างต่ำ ประมาณ30%) ,การปักชำ การเพาะเมล็ด ตามธรรมชาติเมล็ดของบัวสวรรค์มีขนาดใหญ่และหนัก จึงไม่สามารถกระจายออกไปไกลจากโคนต้นได้มากนัก เมื่อผลเน่าเสียเมล็ดจะถูกฝังลงดินและงอกเป็นต้นอ่อนขึ้นมา ต้นจากการเพาะเมล็ดจะใช้เวลาในการออกดอกถึงห้าปี ช้ากว่าต้นจากการปักชำ หรือตอนกิ่ง

ประโยชน์

ใช้เป็นไม้ประดับ ใบเขียวตลอดปีช่วยให้บ้านดูร่มรื่นเย็นสบาย เยื่อไม้ใช้ทำด้าย น้ำจากก้านดอกอ่อนหมักแล้วกลั่นรับประทาน บำรุงโลหิต และบำรุงธาตุ ลำต้นที่ตรงของเขาใช้ได้ดีสำหรับการก่อสร้าง ในสมัยโบราณ ชาวอินเดียนแดงใช้ใบต้มทำยาแก้พิษจากการถูกธนูพิษยิง และแก้พิษไข้ แก้หวัด ที่มีประโยชน์ที่สุดคือ ดอกสวย หอมชื่นใจ บานในเวลากลางคืน

อื่นๆ

ระเบียงภาพ


อ้างอิง

  1. เต็ม สมิตินันทน์ ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549
  2. สารานุกรมพืชในประเทศไทย (ฉบับย่อ) http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?words=%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%8C