ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกน้อย อุไรพร"

เพิ่มหัวข้อ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 69: บรรทัด 69:
=== <big>ประวัติก่อตั้งวงเสียงอิสาน</big> <big></big>===
=== <big>ประวัติก่อตั้งวงเสียงอิสาน</big> <big></big>===
ได้เข้ามาวงการดนตรีพุทธศักราช2518 หลังจากตะเวนประกวดขับร้องทั่วอีสาน โดยไปสมัครเป็นนักร้องที่จังหวัด[[อุบลราชธานี]] ที่มีวงดนตรีเพชรพิณทอง เจ้าของวงพ่อ[[นพดล ดวงพร]]แล้วตั้งชื่อใหม่ให้เป็น[[นกน้อย อุไรพร]]</br> ต่อมาย้ายมาสังกัดบ้านพักทัมใจโดย อาวทิดหลอด[[ มัยกิจ ฉิมหลวง]]จัดรายการทางสถานีวิทยุชื่อดังในจังหวัด[[อุดรธานี]] และได้แต่งงานกันหลังจากนั้นก็ตั้งวงดนตรีนกน้อย อุไรพร แต่ก็ไม่ได้รับความนิยมและขาดทุนเนื่องจากไม่มีการแสดงหมอลำเรื่องต่อกลอน ซึ่งเป็นการนำนิทานพื้นบ้านหรือเรื่องเล่ามาเล่นกันเป็นเรื่องราวแล้วแทรกการร้องเพลงไว้ด้วย เป็นจุดด้อยที่ทำให้ ไม่มีใครจ้าง</br>หลังจากพักวงไปได้ไม่นานจึงปรับการแสดงและการจัดวงให้มีขนาดใหญ่ขึ้นภายใต้ชื่อวงเสียงอิสานหลังจากเริ่มวงครั้งใหม่ 10 ปีต่อมา เป็นระยะเวลาที่บ่มเพาะประสบการณ์ของวงทำให้เป็นที่นิยมกันมาในแถบถาคอีสานจนมีงานจ้างทั่วประเทศตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โดยจุดเด่นใหญ่ที่ให้ผู้ชมนั้นคือ ตลก พร้อมนักแสดงนับ 500 ชีวิต และการแสดงที่หลากหลาย เรื่องราวที่เข้ากันได้อย่างลงตัวหลังจากยกเครื่องปรับปรุงทีมงานการแสดงได้ไม่นานนัก วงดนตรีลูกทุ่งหมอลำคณะเสียงอิสานก็ได้รับการกล่าวขวัญกันอย่างกว้างขวางเป็นไฟลามทุ่ง นำทีมโดยนกน้อย อุไรพร, ลูกแพร-ไหมไทย อุไรพร ปอยฝ้าย มาลัยพร,คำมอส พรขุนเดช,จั๊กจั่น ดาวไพร,แป้ง ณัฐธิดา,ดาวทอง,ดาวน้อย,ดาวตลก,ดาวรุ่ง เมื่อร้องจนเก่งแล้วจึงลองหัดแต่งกลอนลำร้องเอง ต่อมาก็แต่งให้นักแสดงในวงนำไปร้อง ลำเรื่องต่อกลอนของคณะเสียงอิสาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องฮอยปานดำ, ฮอยปูนแดง, วงเวียนชีวิต,และอีกหลายๆเรื่อง ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือของนกน้อย อุไรพร ทั้งนี้และทั้งชื่อเสียงของคณะเสียงอิสานเริ่มขยายวงกว้างเป็นไฟลามทุ่ง ด้วยทีมงานที่ยิ่งใหญ่ขบวนคอนวอยที่ยาวเหยียด เวทีแสงสีเสียงและการแสดงอันตื่นตาตื่นใจ และรูปแบบการเวทีใหม่โดยใช้รถ 6 ล้อ 2 คันกางปีกออก แล้วก็จัดสเต็ปใช้ระบบไฮดรอดริกส์ซึ่งเป็นการพัฒนาที่ไม่หยุดยั้งและรูปแบบการแสดงใหม่ จนได้ชื่อว่าเป็น "สุดยอดหมอลำ ก้าวล้ำตลอดกาล" ปัจจุบัน นกน้อย อุไรพร ได้รับการยกย่องว่าเป็นราชินีหมอลำในยุคปัจจุบันอีกคนหนึ่ง
ได้เข้ามาวงการดนตรีพุทธศักราช2518 หลังจากตะเวนประกวดขับร้องทั่วอีสาน โดยไปสมัครเป็นนักร้องที่จังหวัด[[อุบลราชธานี]] ที่มีวงดนตรีเพชรพิณทอง เจ้าของวงพ่อ[[นพดล ดวงพร]]แล้วตั้งชื่อใหม่ให้เป็น[[นกน้อย อุไรพร]]</br> ต่อมาย้ายมาสังกัดบ้านพักทัมใจโดย อาวทิดหลอด[[ มัยกิจ ฉิมหลวง]]จัดรายการทางสถานีวิทยุชื่อดังในจังหวัด[[อุดรธานี]] และได้แต่งงานกันหลังจากนั้นก็ตั้งวงดนตรีนกน้อย อุไรพร แต่ก็ไม่ได้รับความนิยมและขาดทุนเนื่องจากไม่มีการแสดงหมอลำเรื่องต่อกลอน ซึ่งเป็นการนำนิทานพื้นบ้านหรือเรื่องเล่ามาเล่นกันเป็นเรื่องราวแล้วแทรกการร้องเพลงไว้ด้วย เป็นจุดด้อยที่ทำให้ ไม่มีใครจ้าง</br>หลังจากพักวงไปได้ไม่นานจึงปรับการแสดงและการจัดวงให้มีขนาดใหญ่ขึ้นภายใต้ชื่อวงเสียงอิสานหลังจากเริ่มวงครั้งใหม่ 10 ปีต่อมา เป็นระยะเวลาที่บ่มเพาะประสบการณ์ของวงทำให้เป็นที่นิยมกันมาในแถบถาคอีสานจนมีงานจ้างทั่วประเทศตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โดยจุดเด่นใหญ่ที่ให้ผู้ชมนั้นคือ ตลก พร้อมนักแสดงนับ 500 ชีวิต และการแสดงที่หลากหลาย เรื่องราวที่เข้ากันได้อย่างลงตัวหลังจากยกเครื่องปรับปรุงทีมงานการแสดงได้ไม่นานนัก วงดนตรีลูกทุ่งหมอลำคณะเสียงอิสานก็ได้รับการกล่าวขวัญกันอย่างกว้างขวางเป็นไฟลามทุ่ง นำทีมโดยนกน้อย อุไรพร, ลูกแพร-ไหมไทย อุไรพร ปอยฝ้าย มาลัยพร,คำมอส พรขุนเดช,จั๊กจั่น ดาวไพร,แป้ง ณัฐธิดา,ดาวทอง,ดาวน้อย,ดาวตลก,ดาวรุ่ง เมื่อร้องจนเก่งแล้วจึงลองหัดแต่งกลอนลำร้องเอง ต่อมาก็แต่งให้นักแสดงในวงนำไปร้อง ลำเรื่องต่อกลอนของคณะเสียงอิสาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องฮอยปานดำ, ฮอยปูนแดง, วงเวียนชีวิต,และอีกหลายๆเรื่อง ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือของนกน้อย อุไรพร ทั้งนี้และทั้งชื่อเสียงของคณะเสียงอิสานเริ่มขยายวงกว้างเป็นไฟลามทุ่ง ด้วยทีมงานที่ยิ่งใหญ่ขบวนคอนวอยที่ยาวเหยียด เวทีแสงสีเสียงและการแสดงอันตื่นตาตื่นใจ และรูปแบบการเวทีใหม่โดยใช้รถ 6 ล้อ 2 คันกางปีกออก แล้วก็จัดสเต็ปใช้ระบบไฮดรอดริกส์ซึ่งเป็นการพัฒนาที่ไม่หยุดยั้งและรูปแบบการแสดงใหม่ จนได้ชื่อว่าเป็น "สุดยอดหมอลำ ก้าวล้ำตลอดกาล" ปัจจุบัน นกน้อย อุไรพร ได้รับการยกย่องว่าเป็นราชินีหมอลำในยุคปัจจุบันอีกคนหนึ่ง

| ปีพ.ศ. || อัลบั้ม || เพลงในอัลบั้ม
|-
{| class="wikitable"
|-
! ปีพ.ศ. !! อัลบั้ม !! เพลงในอัลบั้ม
|-
| || นกจ๋า ||
1.เหมือนนกขมิ้น
2.นกจ๋า
3.ที่รักจ๋า
4.ภาพถ่ายวิญญาณรัก
5.ธรณีเป็นพยาน
6.สัจจาหญิง
7.ดำขี่หลี่
8.เพลงชีวิต
9.รักเพียงเธอ
10.สวรรค์บ้านนา
|-
| || บ้าไก่ตี ||
1.บ้าไก่ตี
2.เกี่ยวข้าวดอรอแฟน
3.สาวนาคิดถึงบ้าน
4.ขี้เหร่เสน่ห์แรง
5.ปอดอ้อยซ้อย
6.ใจพี่ยังมีเขา
7.ไม่มีสิทธิ์แต่คิดถึง
8.พรุ่งนี้เมิดปี
9.อีสานยังคอย
10.พอกะเทิน
|-
| || สาวหางเครื่อง ||
1.สาวหางเครื่อง
2.สาวแม่มูลคอยแฟน
3.เจ็บแล้วจำ
4.ผู้แทนบ้านนอก
5.พิเศษสำหรับแฟน
6.ศิษย์หลวงปู่พิมพา
7.แด่ท่านแม่ด้วยดวงใจ
8.เจ้าหนี้ชีวิต
9.เรือจ้างสังคม
10.อัศวินประจำใจ
|}
| ตัวอย่าง || ตัวอย่าง || ตัวอย่าง
|-
| ตัวอย่าง || ตัวอย่าง || ตัวอย่าง
|}
</big>


== ผลงานบันทึกการแสดงสด ==
== ผลงานบันทึกการแสดงสด ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:16, 23 มกราคม 2561

นกน้อย อุไรพร
ชื่อเกิดอุไร สีหะวงศ์
เกิด11 ตุลาคม พ.ศ. 2500 (66 ปี 206 วัน)
ที่เกิดอำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ
แนวเพลงลูกทุ่ง หมอลำ
อาชีพนักร้อง หมอลำ
ช่วงปีพ.ศ. 2513—ปัจจุบัน
ค่ายเพลงกรุงไทยออดิโอ
ท็อปไลน์มิวสิค
สมาชิกนกน้อย อุไรพร

จั๊กจั่น ดาวไพร
จีรวรรณ พรวิเศษ
ราตรี ดาวฮูโต
ปานดำ ค้ำคูณ
หนุ่ม นนธวัช
ตั้ม เกินร้อย
บุญหลง คอปเตอร์ไฟซ์
ท็อฟฟี่ ศรีภูเวียง
นำโชค พรขุนหลอด
บุญชู ภูธร
มนต์พิณ เสียงอิสาน
เอ ศรายุทธ
อัปเดต นรภัทร
เมฆ ชัยวัฒน์
วิ สุพิศตรา
เบล ขนิษฐา
แป้ง ณัฐธิดา
ไหมพรม อุดมพร
น้ำตาล วราภรณ์
ปาล์มมี่ รินทร์ลัดดา
เรดาร์ เขมากร
คำมอส พรขุนเดช
พ่อชาลี ฮอลิเดย์
ยายจื้น ดอตคอม
พ่อวิเศษ เวณิกา
สาวเอ่นศรี พาเพลิน
สาวโยโกะ ศรีสะเกษ
ผึ้งน้อย เสียงอิสาน
จ่อย เสียงอิสาน
ยายอู๊ด อนอัว
เจ้ปู๊ด ตูดสวาท

สาวบัวตูม
ไฟล์:Noknoi2559.jpg
นกน้อย อุไรพร
ไฟล์:Noknoiyoko.jpg
นกน้อย อุไรพร และ โยโกะ ตลกเสียงอิสาน
ไฟล์:Noknoi2016.jpg
นกน้อย อุไรพร 2016

นกน้อย อุไรพร เป็นศิลปินนักร้องชาวไทยแนวลูกทุ่งหมอลำ และเป็นหัวหน้าคณะเสียงอิสาน

== ประวัติ == นกน้อย อุไรพร หรือ "นางอุไร ฉิมหลวง (สีหะวงศ์)" เกิดเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2500 อายุ 61 ปี อยู่ที่บ้านจอม ตำบลยางชุมน้อย อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ เป็นศิลปินลูกทุ่งหมอลำ นกน้อยเริ่มต้นการเข้าสู่วงการบันเทิงโดยเข้าประกวดร้องเพลงที่สถานีวิทยุเธอกวาดรางวัลชนะเลิศมาทุกเวที ด้วยคะแนนที่เป็นเอกฉันท์ปราศจากข้อกังขา และได้มาสมัครกับพ่อนพดล ดวงพร ในตำแหน่งหางเครื่อง และได้เป็นนักร้องของวงในเวลาซึ่งเพลงนกจ๋าได้รับความนิยมสูงสุด มาชื่อ นกน้อย อุไรพร นั้นได้จากการนำเอาเพลงนกจ๋า มาเป็นเหมือนตัวแทนก็คือ นกน้อย และเอาชื่อจริงคือ อุไร มาบวกกับคำสุดท้ายของนามสกุลของนพดล คือคำว่า พร มารวมกันจนกลายเป็น นกน้อย อุไรพรนั่นเอง

ดูเพิ่มที่ เสียงอิสาน

ประวัติก่อตั้งวงเสียงอิสาน

ได้เข้ามาวงการดนตรีพุทธศักราช2518 หลังจากตะเวนประกวดขับร้องทั่วอีสาน โดยไปสมัครเป็นนักร้องที่จังหวัดอุบลราชธานี ที่มีวงดนตรีเพชรพิณทอง เจ้าของวงพ่อนพดล ดวงพรแล้วตั้งชื่อใหม่ให้เป็นนกน้อย อุไรพร
ต่อมาย้ายมาสังกัดบ้านพักทัมใจโดย อาวทิดหลอดมัยกิจ ฉิมหลวงจัดรายการทางสถานีวิทยุชื่อดังในจังหวัดอุดรธานี และได้แต่งงานกันหลังจากนั้นก็ตั้งวงดนตรีนกน้อย อุไรพร แต่ก็ไม่ได้รับความนิยมและขาดทุนเนื่องจากไม่มีการแสดงหมอลำเรื่องต่อกลอน ซึ่งเป็นการนำนิทานพื้นบ้านหรือเรื่องเล่ามาเล่นกันเป็นเรื่องราวแล้วแทรกการร้องเพลงไว้ด้วย เป็นจุดด้อยที่ทำให้ ไม่มีใครจ้าง
หลังจากพักวงไปได้ไม่นานจึงปรับการแสดงและการจัดวงให้มีขนาดใหญ่ขึ้นภายใต้ชื่อวงเสียงอิสานหลังจากเริ่มวงครั้งใหม่ 10 ปีต่อมา เป็นระยะเวลาที่บ่มเพาะประสบการณ์ของวงทำให้เป็นที่นิยมกันมาในแถบถาคอีสานจนมีงานจ้างทั่วประเทศตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โดยจุดเด่นใหญ่ที่ให้ผู้ชมนั้นคือ ตลก พร้อมนักแสดงนับ 500 ชีวิต และการแสดงที่หลากหลาย เรื่องราวที่เข้ากันได้อย่างลงตัวหลังจากยกเครื่องปรับปรุงทีมงานการแสดงได้ไม่นานนัก วงดนตรีลูกทุ่งหมอลำคณะเสียงอิสานก็ได้รับการกล่าวขวัญกันอย่างกว้างขวางเป็นไฟลามทุ่ง นำทีมโดยนกน้อย อุไรพร, ลูกแพร-ไหมไทย อุไรพร ปอยฝ้าย มาลัยพร,คำมอส พรขุนเดช,จั๊กจั่น ดาวไพร,แป้ง ณัฐธิดา,ดาวทอง,ดาวน้อย,ดาวตลก,ดาวรุ่ง เมื่อร้องจนเก่งแล้วจึงลองหัดแต่งกลอนลำร้องเอง ต่อมาก็แต่งให้นักแสดงในวงนำไปร้อง ลำเรื่องต่อกลอนของคณะเสียงอิสาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องฮอยปานดำ, ฮอยปูนแดง, วงเวียนชีวิต,และอีกหลายๆเรื่อง ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือของนกน้อย อุไรพร ทั้งนี้และทั้งชื่อเสียงของคณะเสียงอิสานเริ่มขยายวงกว้างเป็นไฟลามทุ่ง ด้วยทีมงานที่ยิ่งใหญ่ขบวนคอนวอยที่ยาวเหยียด เวทีแสงสีเสียงและการแสดงอันตื่นตาตื่นใจ และรูปแบบการเวทีใหม่โดยใช้รถ 6 ล้อ 2 คันกางปีกออก แล้วก็จัดสเต็ปใช้ระบบไฮดรอดริกส์ซึ่งเป็นการพัฒนาที่ไม่หยุดยั้งและรูปแบบการแสดงใหม่ จนได้ชื่อว่าเป็น "สุดยอดหมอลำ ก้าวล้ำตลอดกาล" ปัจจุบัน นกน้อย อุไรพร ได้รับการยกย่องว่าเป็นราชินีหมอลำในยุคปัจจุบันอีกคนหนึ่ง

ผลงานบันทึกการแสดงสด

บันทึกการแสดงสด

  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 1 พ.ศ. 2543
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 2 พ.ศ. 2543
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 3 จ.หนองคาย
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 4 จ.หนองคาย
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 5
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 6
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 7
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 8
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 9
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 10
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 11
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 12
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 13
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 14
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 15
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 16
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 17
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 18
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2550
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2550
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2552
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 23 เขตอ่อนนุช กรุงเทพมหานคร
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
  • คอนเสิร์ตรวมพลัง ท้องสนามหลวง วันพ่อแห่งชาติ ธันวาคม พ.ศ. 2553
  • คอนเสิร์ต..ปิดฤดูกาล สนามทุ่งศรีเมือง จ.อุดรธานี พฤษภาคม พ.ศ. 2553
  • คอนเสิร์ต..เปิดฤดูกาล จ.สมุทรสาคร กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
  • บันทึกการแสดงสดจากนครเวียงจันทน์ สนามกีฬาแห่งชาติ นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิประชาธิปไตย ประชาชนลาว ธันวาคม พ.ศ. 2554
  • คอนเสิร์ตเสียงอิสาน ชุดที่ 1 จ.ปทุมธานี ธันวาคม พ.ศ. 2555
  • บันทึกการแสดงสดชุดที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2556
  • บันทึกการแสดงสดเสียงอิสาน 2556-2557 เมษายน พ.ศ. 2557
  • บันทึกการแสดงสดคอนเสิร์ต (๔๐ ปี เสียงอิสาน) เมษายน พ.ศ. 2558

ตลกคณะเสียงอิสาน

  • พ.ศ. 2543 ตลกชุดที่ 1
  • พ.ศ. 2544 ตลกชุดที่ 2
  • พ.ศ. 2544 ตลกคณะเสียงอิสาน ชุดเลียงอิลาน (ชุดพิเศษ)
  • พ.ศ. 2545 ตลกชุดที่ 3
  • พ.ศ. 2545 ตลกชุดที่ 4
  • พ.ศ. 2545 ตลกชุดที่ 5
  • พ.ศ. 2546 ตลกชุดที่ 6
  • พ.ศ. 2546 ตลกชุดที่ 7
  • พ.ศ. 2546 ตลกชุดที่ 8
  • พ.ศ. 2547 ตลกชุดที่ 9
  • พ.ศ. 2547 ตลกชุดที่ 10
  • พ.ศ. 2548 ตลกชุดที่ 11
  • พ.ศ. 2548 ตลกชุดที่ 12
  • พ.ศ. 2549 ตลกชุดที่ 13
  • พ.ศ. 2549 ตลกชุดที่ 14
  • พ.ศ. 2550 ตลกคณะเสียงอิสาน ปะทะทีมสาระแน
  • พ.ศ. 2550 ตลกชุดที่ 15
  • พ.ศ. 2550 ตลกชุดที่ 16
  • พ.ศ. 2551 ตลกชุดที่ 17
  • พ.ศ. 2551 ตลกชุดที่ 18
  • พ.ศ. 2552 ตลกชุดที่ 19
  • พ.ศ. 2552 ตลกชุดที่ 20
  • พ.ศ. 2553 ตลกชุดที่ 21
  • พ.ศ. 2553 คอนเสิร์ต..ปิดฤดูกาล คณะเสียงอิสาน ตลกชุดที่ 22
  • พ.ศ. 2554 ตลกชุดที่ 23
  • พ.ศ. 2554 ตลกชุดที่ 24
  • พ.ศ. 2554 ตลกชุดที่ 25
  • พ.ศ. 2555 ตลกชุดที่ 26
  • พ.ศ. 2555 ตลกชุดที่ 27
  • พ.ศ. 2556 ตลกชุดที่ 28
  • พ.ศ. 2557 ตลกชุดที่ 29
  • พ.ศ. 2558 ตลกชุดที่ 30
  • พ.ศ. 2559 ตลกชุดที่ 31
  • พ.ศ. 2560 ตลกชุดที่ 32
  • พ.ศ.2561 ตลกชุดที่ 33

ลำเรื่องต่อกลอน

  • พ.ศ. 2543 ฮอยปานดำ
  • พ.ศ. 2544 วงเวียนชีวิต (รับบทเป็น : แม่ผู้ใหญ่)
  • พ.ศ. 2544 ฮอยปูนแดง (รับบทเป็น : แม่บุญธรรม)
  • พ.ศ. 2545 เงากรรม (รับบทเป็น : ดาหวัน)
  • พ.ศ. 2545 วงเวียนชีวิต ภาค 2 (รับบทเป็น : แม่ผู้ใหญ่)
  • พ.ศ. 2545 เงากรรม ภาค 2
  • พ.ศ. 2546 เหนือคำสาบาน
  • พ.ศ. 2546 บาปไผ๋บุญมัน
  • พ.ศ. 2547 ฮักพ่อท่อเม็ดเกลือ ฮักเมียท่อเม็ดข้าว
  • พ.ศ. 2548 ฮักพ่อท่อเม็ดเกลือ ฮักเมียท่อเม็ดข้าว ภาค 2 ตอนจบ
  • พ.ศ. 2549 รักนี้มีกรรม
  • พ.ศ. 2549 คาดทุกข์บ่ฮ่อนมี
  • พ.ศ. 2550 น้ำตาเมีย (รับบทเป็น : แม่ผู้ใหญ่)
  • พ.ศ. 2551 ปูนแดง ปานดำ
  • พ.ศ. 2552 วงเวียนชีวิต ตอน ใต้ฟ้า กทม.
  • พ.ศ. 2554 เงินคือพระเจ้า ข้าวเลี้ยงชีวิต
  • พ.ศ. 2554 เงินคือพระเจ้า ข้าวเลี้ยงชีวิต ภาค 2
  • พ.ศ. 2556 ไวปากเสียศีล ไวตีนตกต้นไม้
  • พ.ศ. 2557 ไวปากเสียศีล ไวตีนตกต้นไม้ ภาค 2
  • พ.ศ. 2558 เวทีชีวิต ตอน กงกรรมกงเกวียน
  • พ.ศ. 2558 ฮอยปูนแดง ฮอยปานดำ
  • พ.ศ. 2559 น้ำตาเมีย ตอน ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด
  • พ.ศ. 2560 ลูกกาฝาก
  • พ.ศ. 2561 ลูกใภ้สกุลกา แม่ย่าปากปลาแดก

ผลงานภาพยนตร์

  • มนต์เพลงเสียงอิสาน
  • อลเวง มนต์เพลงเสียงอิสาน
  • วงเวียนชีวิต
  • ยองบ่าง เดอะมูฟวี่

รายการสถานีโทรทัศน์

  • รายการคนค้นฅน
  • รายการสาระแน
  • รายการคุณพระช่วย
  • รายการเวทีไท
  • รายการตีสิบ
  • รายการเจาะใจ
  • รายการเจาะประเด็น
  • รายการกบนอกกะลา
  • รายการซุปเปอร์ลูกทุ่ง
  • รายการคืนนี้ที่เนชั่น
  • รายการข่าวไทบันเทิง
  • รายการเพชรรามา
  • รายการพ่อหนูเก่งที่สุดในโลก
  • รายการกิ๊กดู๋สงครามเพลงเงินล้าน
  • รายการข่าวลูกทุ่ง
  • รายการ TUKKY Show
  • รายการขอรวยด้วยคน
  • รายการรักเอย
  • รายการสะเด็ดข่าวสี่ทิศ
  • รายการมายาไทยรัฐ
  • รายการ Golf มั้ย Took
  • รายการภูมิอีสาน
  • รายการตกมันส์บันเทิง
  • รายการเล่นใหญ่จัดใหญ่
  • รายการ The Cover เหมือนขั้นเทพ
  • รายการกิ๊กดู๋สงครามเพลงเงาเสียง
  • รายการสายตรงลูกทุ่ง ช่องไทยรัฐทีวี
  • รายการบางอ้อ

รางวัล

  • ชนะเลิศการประกวดร้องเพลงลูกทุ่งของสถานีวิทยุ กวส.1 จังหวัดสุรินทร์
  • ได้รับรางวัล คนดีศรีอุดรธานี ในงานทุ่งศรีเมือง จังหวัดอุดรธานี ปีพุทธศักราช 2551
  • ได้รับรางวัลในการใช้ภาษาไทยท้องถิ่นยอดเยี่ยมจาก พลเอกสรยุทธ์ จุลานนท์ ในปีพุทธศักราช 2553
  • พระราชทานปริญญาบัตรสาขานาฏศิลป์และการละคร จากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ณ มหาวิทยาลัยราฏภัชสกลนคร
  • ศิลปินลูกทุ่งหมอลำผู้สร้างชื่อเสียงให้กับภาคอิสาน ในงานประกาศผลรางวัลตุ๊กตาทอง และ รางวัลเมขลา 2557
  • ได้รับประทานรางวัล บุคคลดีเด่นในรางวัล "แม่พิมพ์ของชาติดีเด่น" เนื่องในวันแม่แห่งชาติ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2557
  • ได้รับรางวัล "เหมราช" บุคคลต้นแบบแห่งปี สาขาผู้นำด้านวัฒนธรรม เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2559
  • เข้ารับพระราชทานรางวัลพระธาตุนาดูนทองคำ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วันที่ 14 ธันวาคม 2559
  • ได้รับรางวัล "คนดีของสังคม" ประจำปีพุทธศักราช 2560 ณ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพมหานคร วันที่ 24 มิถุนายน 2560

รายการอ้างอิง

[[1]]

แหล่งข้อมูลอื่น