ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ว่านหางจระเข้"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
retard
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
| binomial_authority = ([[Carolus Linnaeus|L.]]) [[Nicolaas Laurens Burman|Burm.f.]]
| binomial_authority = ([[Carolus Linnaeus|L.]]) [[Nicolaas Laurens Burman|Burm.f.]]
}}
}}

'''ว่านหางจระเข้''' เป็นต้นพืชที่มีเนื้ออิ่มอวบ จัดอยู่ใน[[ตระกูลลิเลี่ยม]] (Lilium) แหล่งกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในชายฝั่ง[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]]และบริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกา พันธุ์ของว่านหางจระเข้มีมากมายกว่า 300 ชนิด ซึ่งมีทั้งพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่มากจนไปถึงพันธุ์ที่มีขนาดเล็กกว่า 10 เซนติเมตร ลักษณะพิเศษของว่านหางจระเข้ก็คือ มีใบแหลมคล้ายกับเข็ม เนื้อหนา และเนื้อในมีน้ำเมือกเหนียว ว่านหางจระเข้ผลิดอกในช่วงฤดูหนาว ดอกจะมีสีต่างๆกัน เช่น เหลือง ขาว และแดง เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพันธุ์ของมัน

คำว่า "อะโล" (Aloe) เป็นภาษากรีซโบราณ หมายถึงว่านหางจระเข้ ซึ่งแผลงมาจากคำว่า "Allal" มีความหมายว่า ฝาดหรือขม ในภาษายิว ฉะนั้นเมื่อผู้คนได้ยินชื่อนี้ ก็จะทำให้นึกถึงว่านหางจระเข้ ว่านหางจระเข้เดิมเป็นพืชที่ขึ้นในเขตร้อนต่อมาได้ถูกนำไปแพร่พันธุ์ในยุโรปและเอเชีย และทุกวันนี้ทั่วโลกกำลังเกิดกระแสนิยมว่านหางจระเข้กันเป็นการใหญ่

== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
ว่านหางจระเข้เป็นพืชชนิดหนึ่งที่[[พืชอวบน้ำ]]ลำต้นสั้นหรือไม่มีลำต้นสูง 60–100&nbsp;[[เซนติเมตร|ซม.]] (24–39&nbsp;นิ้ว) กระจายพันธุ์โดยตะเกียง ใบหนาอ้วนมีสีเขียวถึงเทา-เขียว บางสายพันธุ์มีจุดสีขาวบนและล่างของโคนใบ<ref name="Yates">Yates A. (2002) ''Yates Garden Guide''. Harper Collins Australia</ref> ขอบใบเป็นหยักและมีฟันเล็กๆสีขาว ออก[[ดอก]]ในฤดูร้อนบนช่อเชิงลด สูงได้ถึง {{convert|90|cm|in|abbr=on}} ดอกเป็นดอกห้อย วงกลีบดอกสีเหลืองรูปหลอด ยาว 2–3&nbsp;ซม. (0.8–1.2&nbsp;นิ้ว)<ref name="Yates"/><ref name="BPGE">Random House Australia ''Botanica's Pocket Gardening Encyclopedia for Australian Gardeners'' Random House Publishers, Australia</ref> ว่านหางจระเข้ก็เหมือนพืชชนิดอื่นในสกุลที่สร้างอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา (arbuscular mycorrhiza) ขึ้น ซึ่งเป็นสมชีพที่ทำให้พืชดูดซึมสารอาหารและ[[แร่]]ธาตุในดินได้ดีขึ้น<ref>{{cite journal |author=Gong M, Wang F, Chen Y |title=[Study on application of arbuscular-mycorrhizas in growing seedings of Aloe vera] |language=Chinese |journal=Zhong yao cai = Zhongyaocai = Journal of Chinese medicinal materials |volume=25 |issue=1 |pages=1–3 |year=2002 |month=January |pmid=12583231 |doi= |url=}}</ref>

== อนุกรมวิธาน ==
[[ไฟล์:Aloe Vera.jpg|thumb|right|200px|รูปแบบมีจุดของว่านหางจระเข้ซึ่งบางครั้งรู้จักกันในชื่อ ''Aloe vera'' var. ''chinensis''.]]
ว่านหางจระเข้ได้รับการจำแนกครั้งแรกโดย[[คาโรลัส ลินเนียส]]ในปี ค.ศ. 1753 เป็น ''Aloe perfoliata'' var. ''vera''<ref>Linnaeus, C. (1753). Species plantarum, exhibentes plantas rite cognitas, ad genera relatas, cum differentiis specificis, nominibus trivialibus, synonymis selectis, locis natalibus, secundum systema sexuale digestas. Vol. 2 pp. [i], 561–1200, [1–30, index], [i, err.]. Holmiae [Stockholm]: Impensis Laurentii Salvii.</ref> และจำแนกอีกครั้งในปี ค.ศ. 1768 โดย นิโคลาส เลาเรนส์ บูร์มัน (Nicolaas Laurens Burman) เป็น ''Aloe vera'' ใน ''Flora Indica'' ในวันที่ 6 เมษายน และโดย ฟิลิป มิลเลอร์ (Philip Miller) เป็น ''Aloe barbadensis'' 10 วันหลังบูร์มันใน ''Gardener's Dictionary''<ref>Newton, L. E. (1979). In defense of the name ''Aloe vera''. ''The Cactus and Succulent Journal of Great Britain'' '''41''': 29–30.</ref>

ด้วยวิธีการเปรียบเทียบ [[DNA]] แสดงว่าว่านหางจระเข้เป็นญาติใกล้ชิดกับ ''[[Aloe perryi]]'' พืชถิ่นเดียวของ[[ประเทศเยเมน]]<ref>Darokar MP, Rai R, Gupta AK, Shasany AK, Rajkumar S, Sunderasan V and Khanuja SPS (2003). Molecular assessment of germplasm diversity in Aloe spp. using RAPD and AFLP analysis. J Med. Arom. Plant Sci.25(2): 354–361.</ref> และด้วยวิธีที่คล้ายกัน ด้วยการเปรียบเทียบการจัดลำดับ DNA ของ[[คลอโรพลาสต์]]และ [[Microsatellite#ISSR-PCR|ISSR]] แสดงว่าว่านหางจระเข้ยังเป็นญาติใกล้ชิดกับ ''[[Aloe forbesii]]'', ''[[Aloe inermis]]'', ''[[Aloe scobinifolia]]'', ''[[Aloe sinkatana]]'' และ ''[[Aloe striata]]'' ด้วยเช่นกัน<ref name="Treutlein">Treutlein, J., Smith, G. F. S., van Wyk, B. E. & Wink, W. (2003). Phylogenetic relationships in Asphodelaceae (Alooideae) inferred from chloroplast DNA sequences (rbcl, matK) and from genomic finger-printing (ISSR). Taxon 52:193.</ref> ถ้าไม่นับชนิดในแอฟริกาใต้คือ ''A. striata'' พืชในสกุล ''Aloe'' จะมีถิ่นกำเนิดในเกาะโซโคตร้า (Socotra) ใน[[ประเทศเยเมน]], [[ประเทศโซมาเลีย]] และ [[ประเทศซูดาน]].<ref name="Treutlein"/> และเนื่องจากไม่มีการสังเกตถึงประชากรในธรรมชาติทำให้ผู้แต่งบางคนเสนอว่าว่านหางจระเข้อาจมีกำเนิดมาจากลูกผสม<ref>Jones WD, Sacamano C. (2000) ''Landscape Plants for Dry Regions: More Than 600 Species from Around the World''. California Bill's Automotive Publishers. USA.</ref>

=== ศัพท์มูลวิทยา ===
[[ชื่อพ้อง]]ของว่านหางจระเข้ก็ยังมี: ''A. barbadensis'' Mill., ''Aloe indica'' Royle, ''Aloe perfoliata'' L. var. ''vera'' และ ''A. vulgaris'' Lam.,<ref name="AFPD">{{cite web | url = http://www.ville-ge.ch/cjb/bd/africa/details.php?langue=an&id=155971|title=''Aloe vera'', African flowering plants database|publisher=Conservatoire et Jardin botaniques de la Ville de Genève|accessdate=2008-06-20}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.ars-grin.gov/cgi-bin/npgs/html/tax_search.pl?Aloe%20vera|title=Taxon: Aloe vera (L.) Burm. f.|publisher=Germplasm Resources Information Network, United States Department of Agriculture.|accessdate=2008-07-16}}</ref> และชื่อสามัญอื่นก็มี Chinese Aloe, Indian Aloe, true Aloe, Barbados Aloe, burn Aloe และ first aid plant<ref name="BPGE"/><ref name="Ombrello">{{cite web |url=http://faculty.ucc.edu/biology-ombrello/POW/Aloe_vera.htm|title=''Aloe vera''|author=Ombrello, T|accessdate=2008-06-21}}</ref><ref>Liao Z, Chen M, Tan F, Sun1 X and Tang K (2004) Microprogagation of endangered Chinese aloe ''Plant Cell, Tissue and Organ Culture'' '''76'''(1):83–86.</ref><ref>T. T. Jamir, H. K. Sharma and A. K. Dolui (1999) Folklore medicinal plants of Nagaland, India. ''Fitoterapia'' '''70'''(1):395–401.</ref><ref name="Barcroft">Barcroft and Myskja (2003) ''Aloe Vera: Nature's Silent Healer''. BAAM, USA. ISBN 0-9545071-0-X</ref> ส่วนอื่นสามัญอื่นในประเทศไทยก็มี ว่านไฟไหม้ (เหนือ) และ หางตะเข้ (กลาง,ตราด)<ref>[http://web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx เต็ม สมิตินันทน์ ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย'' สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช]</ref> ชื่อสปีชีส์ ''vera'' หมายความว่า "ถูกต้อง" หรือ "แท้จริง"<ref name="Ombrello"/> ในหนังสือบางเล่มจะระบุบรูปแบบที่เป็นจุดสีขาวของว่านหางจระเข้เป็น ''Aloe vera'' var. ''chinensis''<ref>{{cite journal |author=Wang H, Li F, Wang T, ''et al.'' |title=[Determination of aloin content in callus of ''Aloe vera'' var. ''chinensis''] |language=Chinese |journal=Zhong yao cai = Zhongyaocai = Journal of Chinese medicinal materials |volume=27 |issue=9 |pages=627–8 |year=2004 |month=September |pmid=15704580 |doi= |url=}}</ref><ref>{{cite journal |author=Gao W, Xiao P |title=[Peroxidase and soluble protein in the leaves of ''Aloe vera'' L. var. ''chinensis'' (Haw.)Berger] |language=Chinese |journal=Zhongguo Zhong yao za zhi = Zhongguo zhongyao zazhi = China journal of Chinese materia medica |volume=22 |issue=11 |pages=653–4, 702 |year=1997 |month=November |pmid=11243179 |doi= |url=}}</ref> อย่างไรก็ตาม ว่านหางจระเข้มีลักษณะของจุดที่ใบหลากหลาย<ref name="Akinyele">Akinyele BO, Odiyi AC (2007) Comparative study of the vegetative morphology and the existing taxonomic status of ''Aloe vera'' L. ''Journal of Plant Sciences'' '''2'''(5):558–563.</ref> และมีการเสนอว่ารูปแบบจุดของว่านหางจระเข้อาจทำให้มันเป็นชนิดเดียวกันกับ ''A. massawana''<ref name=hb>{{cite web|url=http://huntingtonbotanical.org/Desert/Cholla/feb06/feb06.htm|title=The Definitive ''Aloe vera'', vera?|author=Lyons G|publisher=Huntington Botanic Gardens|accessdate=2008-07-11}}</ref>

== สรรพคุณทางยา ==
วุ้นในใบว่านหางจระเข้มีสารเคมีอยู่หลายชนิด เช่น [[Aloe-emodin]], [[Aloesin]], [[Aloin]], สารประเภท [[Glycoprotein]] และอื่นๆ ยางที่อยู่ในว่านหางจระเข้มีสาร [[Anthraquinone]] ทีมีฤทธิ์ขับถ่ายด้วย ใช้ทำเป็นยาดำ มีการศึกษาวิจัยรายงานว่า วุ้นหรือน้ำเมือกของว่านหางจระเข้รักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก แผลเรื้อรัง และแผลในกระเพาะอาหารได้ดี เพราะในวุ้นใบว่านหางจระเข้นอกจากจะมีสรรพคุณรักษาแผลต่อต้านเชื้อ[[แบคทีเรีย]]แล้วยังช่วยสมานแผลได้อีกด้วย
[[ไฟล์:Aloe_succotrina_-_Köhler–s_Medizinal-Pflanzen-007.jpg|thumb|right|250px]]

== การเพาะปลูก ==
ว่านหางจระเข้ปลูกง่าย โดยการใช้หน่ออ่อน ปลูกได้ดีในบริเวณทะเลที่เป็นดินทราย และมีปุ๋ยอุดมสมบูรณ์ดี จะปลูกเอาไว้ในกระถางก็ได้ ในแปลงปลูกก็ได้ ปลูกห่างกันสัก 1-2 ศอก เป็นพืชที่ต้องการน้ำมาก แต่ต้องมีการระบายน้ำดีพอ มิฉะนั้นจะทำให้รากเน่าและตาย ว่านหางจระเข้ชอบแดดรำไร ถ้าถูกแดดจัดใบจะเป็นสีน้ำตาลแดง และอีกวิธีสามานำเมล็ดไปปลูกในกระถางต้นไม้ได้อีกด้วย

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
[[หมวดหมู่:พืชอวบน้ำ]]
[[หมวดหมู่:พืชอวบน้ำ]]
{{โครงพืช}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:55, 22 มกราคม 2561

Aloe vera
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Liliopsida
อันดับ: Asparagales
วงศ์: Asphodelaceae
สกุล: Aloe
สปีชีส์: A.  vera
ชื่อทวินาม
Aloe vera
(L.) Burm.f.