ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไมโครโพรเซสเซอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[หมวดหมู่:ไมโครโพรเซสเซอร์| ]]
[[ไฟล์:Intel_4004.jpg|thumb|[[อินเทล 4004]] ไมโครโพรเซสเซอร์ทั่วไปตัวแรกที่มีการจำหน่าย]]

'''ไมโครโพรเซสเซอร์''' ({{lang-en|microprocessor}}) หมายถึง[[ชิป]]ที่ใช้เป็น[[หน่วยประมวลผลกลาง]]ของเครื่อง[[ไมโครคอมพิวเตอร์]]

== ชนิด ==
เราสามารถแบ่งไมโครโพรเซสเซอร์ตามสถาปัตยกรรมได้เป็น 2 ชนิด คือ

=== Reduced Instruction Set Computer ===
RISC (Reduced Instruction Set Computer) คือ ไมโครโพรเซสเซอร์ที่มีคำสั่งน้อย แต่คำสั่งทำงานได้เร็ว เริ่มต้นพัฒนาด้วยความร่วมมือของ [[ไอบีเอ็ม]] [[มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด]] และ [[มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์]] ในยุคคริสต์ทศวรรษ 1970 ไมโครโพรเซสเซอร์ที่ได้ คือ IBM 801, Stanford MIPS และ Berkeley RISC 1 และ 2 ไมโครโพรเซสเซอร์ชนิดนี้ในยุคต่อมาได้แก่ SPARC ของ [[ซัน ไมโครซิสเต็มส์]] และ [[PowerPC]] ของ [[โมโตโรล่า]]

=== Complex Instruction Set Computer ===
CISC (Complex Instruction Set Computer) เป็นสถาป้ตยกรรมของไมโครโพรเซสเซอร์ที่มีคำสั่งมากกว่าและซับซ้อนกว่า ได้แก่ ไมโครโพรเซสเซอร์ [[x86]] เพนเทียมและเซเลรอนของอินเทลและ ไมโครโพรเซสเซอร์จากบริษัท[[เอเอ็มดี]] (AMD)

=== ตัวอย่าง ไมโครโพรเซสเซอร์ ===
ไมโครโพรเซสเซอร์ที่รู้จักกันดีก็ได้แก่
* ยี่ห้อ Motorola 68030, 68040
* [[แมคอินทอช|เครื่องแมคอินทอช]]รุ่นเก่าของ[[แอปเปิล คอมพิวเตอร์|บริษัทแอปเปิล]]
* [[พีซี|เครื่องพีซี]] ได้แก่ [[Intel i486]], [[Intel Pentium]], [[Intel Celeron]], [[AMD Athlon]], [[AMD Sempron]]

== รูปแบบโครงสร้าง ==
โครงสร้าง แบบ RISC มีการทำงานที่เร็วกว่า CISC ใช้ เพียง 1-2 machine cycle เท่านั้น

อนาคตมีแนวโน้มที่จะเป็นไปใช้แบบ RISC แต่ ที่ยังใช้โครงสร้างแบบ CISC อยู่นั้นเพราะ ว่าถ้าเปลี่ยนเป็นแบบ RISC แล้ว โปรแกรมที่มีอยู่เดิมจะใช้งานไม่ได้ทันที ถ้าต้องการใช้ก็ต้องเป็นการจำลองการทำงานบนโครงสร้างที่ต่างออกไป ทำให้ประสิทธิภาพลดต่ำลง
=== อุปกรณ์ประเภทอื่น ===
นอกจาก Microprocessor แล้วยังมีอุปกรณ์อีกชนิดหนึ่ง คือ Microcontroller ซึ่ง Microcontroller ก็คือ Microprocessor ที่รวมอุปกรณ์อื่นๆเข้าไปด้วย เช่น หน่วยความจำ (RAM), DMA, UART, Watch Dog, RTC, USB, I/O, etc. กล่าวคือเราสามารถนำ Microcontroller ไปใช้งานโดยต่ออุปกรณ์ภายนอกเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่งต่างจาก Microprocessor ที่ต้องต่ออุปกรณ์อื่นเป็นจำนวนมาก Microcontroller มีมากมายหลายตระกูล เช่น แบบCISC มี MCS-51, 68HCxx, Z80, เป็นต้น แบบ RISC มี PIC, AVR, ARM เป็นต้น โดยเฉพาะในตระกูล ARM มาแรงมากในปัจจุบัน เนื่องจากมี โครงสร้างแบบ RISC 16/32 bit,64 bit มีผู้ผลิตมากมายหลายเจ้า ARM ยังนิยมนำไปใช้ ใน อุปกรณ์มือถือระดับสูง เครื่องคอมพิวเตอร์พกพา (PDA) มี OS รองรับหลายรุ่น เช่น Windows CE เป็นต้น

== รายการอ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* {{Cite book
| title = Advanced Microprocessors and Peripherals
| last1 = Ray |first1=A. K.
| first2 = K.M. |last2=Bhurchand
| location = India
| publisher = Tata McGraw-Hill
}}

== ดูเพิ่ม ==
* [[หน่วยประมวลผลกลาง]]
* [[สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์]]

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{cite web|url=http://www.cpu-collection.de/
| title = The CPU Collection|author=Dirk Oppelt|accessdate=2009-12-23}}
* {{cite web|url=http://www.cpu-world.com/|title=CPU-World|author=Gennadiy Shvets
| accessdate = 2009-12-23}}
* {{cite web|url=http://gecko54000.free.fr/|title=The Cecko's CPU Library|author=Jérôme Cremet|accessdate=2009-12-23}}
* {{cite web|url=http://computer.howstuffworks.com/microprocessor.htm
| title = How Microprocessors Work|accessdate=2009-12-23}}
* {{cite web|url=http://diephotos.blogspot.com/|title=IC Die Photography
| author = William Blair|accessdate=2009-12-23}}
* {{cite web|url=http://jbayko.sasktelwebsite.net/cpu.html|title=Great Microprocessors of the Past and Present|author=John Bayko|date=December 2003|accessdate=2009-12-23}}
* {{cite web|url=http://www-106.ibm.com/developerworks/library/pa-microhist.html?ca=dgr-mw08MicroHistory|title=Great moments in microprocessor history|author=Wade Warner|date=22 Dec 2004|publisher=IBM|accessdate=2009-12-23}}
* {{cite web|url=http://firstmicroprocessor.com/?page_id=17|title=theDocuments
| work = World’s First Microprocessor|author=Ray M. Holt|accessdate=2009-12-23
}}


[[หมวดหมู่:ไมโครโพรเซสเซอร์| ]]
[[หมวดหมู่:อิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัล]]
[[หมวดหมู่:อิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัล]]
[[หมวดหมู่:วิศวกรรมโทรคมนาคม]]
[[หมวดหมู่:วิศวกรรมโทรคมนาคม]]
บรรทัด 62: บรรทัด 5:
[[หมวดหมู่:ไมโครคอมพิวเตอร์]]
[[หมวดหมู่:ไมโครคอมพิวเตอร์]]
[[หมวดหมู่:สิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐอเมริกา]]
[[หมวดหมู่:สิ่งประดิษฐ์ของสหรัฐอเมริกา]]
{{โครงคอมพิวเตอร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:19, 14 กรกฎาคม 2560