ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรรณานุกรม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แหล่องข้อมูลตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรมจากเว็บไซต์ภายนอก
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
ชื่อผู้เขียน. '''ชื่อเรื่อง.''' แหล่งที่สืบค้น (วัน เดือน ปีที่สืบค้น)
ชื่อผู้เขียน. '''ชื่อเรื่อง.''' แหล่งที่สืบค้น (วัน เดือน ปีที่สืบค้น)


ตัวอย่างเช่น ....
ตัวอย่างเช่น .....
สุกรี เจริญสุข. '''ในหลวงกับพระอัจฉริยภาพด้านการดนตรี.''' http://kanchanapisek.or.th/articles/music.th.html (1 กรกฎาคม 2551)
สุกรี เจริญสุข. '''ในหลวงกับพระอัจฉริยภาพด้านการดนตรี.''' http://kanchanapisek.or.th/articles/music.th.html (1 กรกฎาคม 2551)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:38, 20 พฤษภาคม 2560

ในทางสารนิเทศ บรรณานุกรม หมายถึงข้อความที่ประกอบ หรือระบุหรือไว้ในส่วนท้าย หรือแนบท้ายหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย เพื่อแสดงหลักฐาน ความน่าเชื่อถือ และเป็นแหล่งข้อมูลให้ผู้อ่านรายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย ได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม

คำว่า "บรรณานุกรม" เป็นศัพท์บัญญัติมาจากภาษาอังกฤษ bibliography ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกันคือ รายการสื่อสารนิเทศทั้งหมดที่ผู้เขียนได้ใช้ประกอบการเขียนหนังสือ รายงาน บทความวิชาการ และงานวิจัย

การเขียนบรรณานุกรม

หลักทั่วไปในการเขียนบรรณานุกรม มักจะเรียงลำดับ ดังต่อนี้ไป

หลักการ ตัวอย่าง หมายเหตุ
ชื่อ ชื่อสกุล. เว้นวรรค ชื่อเรื่อง. เว้นวรรค ครั้งที่พิมพ์. เว้นวรรค เมืองที่พิมพ์ เว้นวรรค : เว้นวรรค ผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ (หรือสำนักพิมพ์), เว้นวรรค ปีที่พิมพ์. ประคอง นิมมานเหมินท์. นิทานพื้นบ้านศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพรผล งานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545. บรรณานุกรมเรื่องหนึ่ง เมื่อขึ้นต้นบรรทัดแรก ให้ชิดซ้าย หากมีความยาวเกิน 1 บรรทัด บรรทัดต่อมา ให้ย่อเข้าไป8ตัวอักษร, การใส่จุด (.) นิยมใช้ตามรูปแบบข้างบนนี้

ลักษณะการเขียนบรรณานุกรมจากอินเทอร์เน็ต

ชื่อผู้เขียน. ชื่อเรื่อง. แหล่งที่สืบค้น (วัน เดือน ปีที่สืบค้น)

ตัวอย่างเช่น .....

สุกรี เจริญสุข. ในหลวงกับพระอัจฉริยภาพด้านการดนตรี. http://kanchanapisek.or.th/articles/music.th.html (1 กรกฎาคม 2551)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรมเพิ่มเติม[1]