ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เว็บเบราว์เซอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17: บรรทัด 17:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
อ้อยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยย
[[ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี]] จากศูนย์วิจัย[[เซิร์น]] ได้คิดค้นระบบ[[ไฮเปอร์เท็กซ์]] โปรแกรมค้นดูเว็บตัวแรกมีชื่อว่า [[เวิลด์ไวด์เว็บ (เว็บเบราว์เซอร์)|เวิลด์ไวด์เว็บ]] แต่เว็บได้รับความนิยมอย่างจริงจังเมื่อ ศูนย์วิจัยเอ็นซีเอสเอ ([[NCSA]]) ของ[[มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน์]] สหรัฐอเมริกา ได้คิดโปรแกรม [[โมเสก (เว็บเบราว์เซอร์)|โมเสก]] (MOSAIC) ซึ่งเป็นโปรแกรมค้นดูเว็บเชิงกราฟิก หลังจากนั้นทีมงานที่ทำโมเสกก็ได้ออกไปเปิด[[เน็ตสเคป|บริษัทเน็ตสเคป]]


== มาตรฐาน ==
== มาตรฐาน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:01, 4 พฤศจิกายน 2559

ไฟล์:WorldWideWeb FSF GNU.png
เวิลด์ไวด์เว็บ เว็บเบราว์เซอร์ตัวแรกของโลก
การใช้เว็บเบราว์เซอร์หลักในประเทศต่างๆ ข้อมูลจาก StatCounter.
  UC
  Iron
  ไม่มีข้อมูล

เว็บเบราว์เซอร์ (อังกฤษ: web browser) มานัส หรือ โปรแกรมค้นดูเว็บ18+ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเวบที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล ให้อ้อยเก็บไว้ที่เว็บเซอร์วิซหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์หรือระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนเครื่องมือในการติดต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เรียกว่าเวิลด์ไวด์เว็บ

เว็บเบราว์เซอร์ตัวแรกของโลกชื่อ เวิลด์ไวด์เว็บ [1] ขณะเดียวกันเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบันคือ อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์[2]

ประวัติ

อ้อยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยย

มาตรฐาน

โปรแกรมค้นดูเว็บเชื่อมโยงกับเว็บเซิร์ฟเวอร์ผ่านมาตรฐานหรือโพรโทคอลการรับส่งข้อมูลแบบ เอชทีทีพี ในการส่งหน้าเว็บ หรือเว็บเพจ ปัจจุบันเอชทีทีพีรุ่นล่าสุดคือ 1.1 ซึ่งสนับสนุนโดยโปรแกรมค้นดูเว็บทั่วไป ยกเว้นอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ที่ยังสนับสนุนไม่เต็มที่

ที่อยู่ของเว็บเพจเรียกว่ายูอาร์แอล หรือยูอาร์ไอ ซึ่งรูปแบบมักจะเริ่มต้นด้วยคำว่า http:// สำหรับการติดต่อแบบเอชทีทีพี โปรแกรมค้นดูเว็บส่วนมากสนับสนุนการเชื่อมต่อรูปแบบอื่นนอกจากนี้ เช่น ftp:// สำหรับเอฟทีพี (FTP) https:// สำหรับเอชทีทีพีแบบสนับสนุนการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น

รูปแบบของไฟล์สำหรับเว็บเรียกว่าเอชทีเอ็มแอล (HTML) และสนับสนุนไฟล์รูปแบบอื่นๆ เช่น รูปภาพ (JPG, GIF, PNG) หรือเสียง เป็นต้น

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Stewart, William. "Web Browser History". สืบค้นเมื่อ 2008-02-02.
  2. http://arstechnica.com/information-technology/2013/10/internet-explorer-6-usage-drops-below-5-percent-in-september/