ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Minos777 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่สร้างโดย Wt00241542 (พูดคุย) (ก่อกวน)
Wt00241542 (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ข้อความทั้งหมดด้วย 'แบร่'
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
แบร่
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล โรงเรียน
| name = โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย
| en_name = Satri Si Suriyothai School
| image = N/A
| abbr = ศ.ท. (ST)
| caption = วิชฺชาจารณสมฺปนฺนา สาเสฎฺฐา ผู้รู้ดีและประพฤติดีเป็นผู้เจริญ
| address = เลขที่ 1 ซ.เจริญกรุง 57 [[ถนนเจริญกรุง]] [[แขวงยานนาวา]] [[เขตสาทร]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10120
| establish_date = [[15 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2482]]
| type = โรงเรียนรัฐบาล
| group = สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
| class_range = ม.1 - ม.6
| song = เพลงโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย
| color = [[สีน้ำตาล|{{แถบสีสามกล่อง|brown}} น้ำตาล]] - [[สีชมพู|{{แถบสีสามกล่อง|#FFA6C9}} ชมพู]]
| website = http://www.suriyothai.ac.th
}}

'''โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย''' เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 1 ซอยเจริญกรุง 57 ถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 เป็น[[โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร]]

== ประวัติ ==
'''โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย''' เดิมชื่อโรงเรียนสตรีวัดสุทธิวราราม ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกับ [[โรงเรียนวัดสุทธิวราราม]]ในปัจจุบัน เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2465 เปิดสอนตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมีคุณหญิงธนภารพิสิษฐ์ (แส มิลินทสูตร) เป็นครูใหญ่คนแรกจนถึงปี 2470 จึงได้ลาออกจากราชการ กระทรวงธรรมการได้แต่งตั้งรองอำมาตย์ตรีแจ้ จุณณะปิยะ (เจตน์ จุณณะปิยะ) รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่แทน เนื่องจากจำนวนนักเรียนที่เพิ่มมากขึ้นทุกปี กระทรวงธรรมการได้ซื้อตึกของอนามัยหนึ่งหลังและสร้างอาคารให้ใหม่อีกหนึ่งหลังเป็นอาคารไม้สามชั้น ในตรอกยายกับตา (ซอยดอนกุศลในปัจจุบัน) ในที่ดินของกรมรัษาที่หลวง (กรมธนารักษ์ปัจจุบัน) โฉนดเลขที่ 672 เนื้อที่ทั้งแปลง 13 ไร่ 2 งาน 92 ตารางวา และย้ายไปเรียนในอาคารหลังกล่าวเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2474 แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนสตรีบ้านทวาย มีคุณหญิงประยงคุ์ ถ่องดิกิจฉการ เป็นครูใหญ่รับนักเรียนทั้งหญิงและชาย

ในปี 2482 กระทรวงธรรมการได้ประกาศแยกโรงเรียนสตรีบ้านทวายออกเป็น 2 โรงเรียน คือ

1. '''โรงเรียนสตรีบ้านทวาย''' สังกัดกองโรงเรียนรัฐบาล กรมสามัญศึกษาในเนื้อที่ 4ไร่ 3 งาน 48 ตารางวา มีนางสาวกรองแก้ว วณิกนันทน์ (คุณหญิงกรองแก้ว ปทุมานนท์) เป็น ครูใหญ่เปิดสอนแผนกสามัญศึกษาต่อมาพระยาประมวลวิชาพูล อธิบดีกรมสามัญศึกษาได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนสตรีบ้านถวาย เป็นโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เพื่อให้ถูกต้องตามรัฐนิยม เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2482(พระยาอุปกิตศิลปสาร เป็นผู้บัญญัติชื่อ)

2. '''โรงเรียนการช่างสตรีพระนครใต้''' สังกัดกรมอาชีวศึกษา มีคุณหญิงประยงคุ์ ถ่องดิกิจฉการ เป็นครูใหญ่เปิดสอนแผนกอาชีวศึกษาในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อกองทัพญี่ปุ่นเข้าสู่ประเทศไทยได้ขออนุญาตนำทหารเข้าพักในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กระทรวงศึกษาธิการจึงสั่งให้โรงเรียนไปเปิดสอนที่โรงเรียนประชาบาล บริษัทเกลือไทยจำกัด อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ในวันที่ 8 กันยายน 2487 รับนักเรียนทั้งประจำและไปกลับ เมื่อสงครามสงบลงจึงให้กลับมาสอนที่เดิม แต่เนื่องจากมีกองทหารฮอลันดาเข้ามาพักแทนทหารญี่ปุ่น โรงเรียนต้องขอยืมโรงเรียนเทศบาล วัดยานนาวา เป็นสถานที่เรียนชั่วคราวในระหว่างที่โรงเรียนติดต่อสถานทูตฮอลันดาเพื่อขอให้ เคลื่อนย้ายกองทัพออกจากบริเวณโรงเรียนในปี 2491 กระทรวงศึกษาธิการอนุมัติให้ผู้บริหารเป็นตำแหน่ง “อาจารย์ใหญ่” โดยมีคุณหญิงกรองทอง สุรัสวดี เป็นอาจารย์ใหญ่ และในปี 2515 ได้รับการยกฐานะ<ref>[http://www.suriyothai.ac.th/node/77 ย้อนอดีต 87 ปี ศรีสุริโยทัย]</ref>

== สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน ==
* '''ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน''' สมเด็จพระสุริโยทัยทรงพระคชาธาร
* '''คติธรรม''' ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ เสียสละ รับผิดชอบ ประกอบกรรมดี มีวินัย
* '''สีประจำโรงเรียน''' น้ำตาล-ชมพู
** {{แถบสีสามกล่อง|#a52a2a}} [[สีน้ำตาล]] หมายถึง รสหวานล้ำดุจน้ำตาล และแสดงความแข็งแกร่ง กล้าหาญ ดุจพระวีรกรรมของสมเด็จพระศรีสุริโยทัย
** {{แถบสีสามกล่อง|#FFA6C9}} [[สีชมพู]] หมายถึง ความอ่อนหวาน สดใส และแสดงถึงความสุภาพอ่อนหวาน สมเป็นกุลสตรีที่ดีเป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม
* '''พระพุทธรูปประจำโรงเรียน''' พระพุทธสัมพรรณณีศรีสุริโยทัย
* '''ต้นไม้ประจำโรงเรียน''' ต้นชมพูพันธุ์ทิพย์<ref>[http://www.suriyothai.ac.th/th/node/48 ข้อมูลทั่วไป]</ref>
*'''สีประจำคณะ : '''
**คณะสุพรรณิการ์ สีเหลือง [[สีชมพู|{{แถบสีสามกล่อง|yellow}}]]
**คณะราชาวดี สีม่วง [[สีม่วง|{{แถบสีสามกล่อง|purple}}]]
**คณะพวงหยก สีเขียว [[สีเขียว|{{แถบสีสามกล่อง|green}}]]
**คณะยูงทอง สีแสด [[สีแสด|{{แถบสีสามกล่อง|orange}}]]
**คณะสร้อยอินทินิล สีฟ้า [[สีฟ้า|{{แถบสีสามกล่อง|blue}}]]

{{โครงส่วน}}
== รายนามผู้บริหารโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย <ref>[http://suriyothai.ac.th/library/mis/2554/mis2554_1.pdf ประวัติโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย]</ref> ==
{|class="PrvPe0b"
! width="50" ;text-align: center;"| ลำดับ
! width=50% style="background: #a52a2a;text-align: center;"| รายนาม
! width=50% style="background: #FFA6C9;text-align: center;"| ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
|-
| 1 || คุณหญิงธนภารพิสิษฐ์ (แส มิลินทสูตร) || พ.ศ. 2465 – 2470
|-
| 2 || รองอามาตย์ตรีเจ้ จุณณะปิยะ (เจตน์ จุณณะปิยะ) || พ.ศ. 2470 – 2474
|-
| 3 || คุณหญิงประยงคุ์ ถ่องดิกิจฉการ || พ.ศ. 2474 – 2482
|-
| 4|| คุณหญิงกรองแก้ว ปทุมานนท์ || พ.ศ. 2482 – 2491
|-
| 5 || คุณหญิงกรองทอง สุรัสวดี || พ.ศ. 2491 – 2498
|-
| 6 || นางญาณี บุณยินทุ || พ.ศ. 2498 – 2515
|-
| 7 ||นางจงกล วิทยาธิกรณศักดิ์ || พ.ศ. 2515 – 2527
|-
| 8 ||นางกัลยา ชื่นกลิ่น || พ.ศ. 2527 – 2535
|-
| 9 ||นางสาวพยอม อ่อนอุดม|| พ.ศ. 2535 – 2537
|-
| 10 ||นางสาวเทียมจันทร์ รามนันทน์ || พ.ศ. 2537 – 2540
|-
| 11 ||นางสาวประคอง ถนัดงาน || พ.ศ. 2540 – 2544
|-
| 12 ||นางสายพิณ มณีศรี || พ.ศ. 2544 – 2547
|-
| 13 ||นางสาวอรุณี นาคทัต || พ.ศ. 2547 – 2551
|-
| 14 ||นางสาวปัทมรัตน์ เต็มพิทักษ์ || พ.ศ. 2551 – 2552
|-
| 15 || นางสาวสุปราณี ไกรวัตนุสสรณ์ || พ.ศ. 2553 – 2556
|}

==สถานที่ภายในโรงเรียน==
{{โครงส่วน}}
==เกียรติประวัติ==
{{โครงส่วน}}
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.suriyothai.ac.th เว็บไซต์โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย]

{{โรงเรียนหญิงล้วน}}
{{เรียงลำดับ|สตรีศรีสุริโยทัย}}
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:เขตสาทร]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในเขตสาทร|วัดสุทธิวราราม]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนสตรีในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง]]
{{โครงสถานศึกษา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:51, 1 สิงหาคม 2557

แบร่