ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 10497533 สร้างโดย 2001:FB1:32:9F9D:9C57:2A89:4097:37B6 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
แทนที่เนื้อหาด้วย "<ref> 100000000000000000000000000000000000000px|thumb|alt=ed|xx </ref>"
ป้ายระบุ: ถูกแทน ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
<ref>
{{ความหมายอื่น|||สถานีรถไฟธนบุรี (แก้ความกำกวม)}}
[[ไฟล์:รังสิต.jpg|100000000000000000000000000000000000000px|thumb|alt=ed|xx]]
{{Infobox station
</ref>
| name = สถานีรถไฟธนบุรี
| route_box = <br/>{{เส้นทางรถไฟ|{{WL|ทางรถไฟสายใต้|รถไฟทางไกลสายใต้}}|{{สถานีรายทาง| next_th = {{สรฟ|ธนบุรี}}| next_en = Thonburi}} }}
| image = พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน 01.JPG
| image_size =
| image_caption = พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน
| address = [[แขวงศิริราช]] [[เขตบางกอกน้อย]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| line = [[ทางรถไฟสายใต้|สายใต้ (ธนบุรี–สุไหงโก-ลก)]]
| opened = 19 มิถุนายน พ.ศ. 2446
| closed = 4 ตุลาคม พ.ศ. 2546
| rebuilt = พ.ศ. 2493
| owned = [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] (อดีต)
| embedded = {{กล่องข้อมูล พิพิธภัณฑ์|embed=yes
| name = '''พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน'''
| coordinates = {{Coord|13.75984|N|100.48606|E|display=inline,title}}
| former_name = สถานีรถไฟธนบุรี
| location = [[แขวงศิริราช]] [[เขตบางกอกน้อย]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| type = ประวัติศาสตร์, การแพทย์
| owner = [[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล|คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล]] [[มหาวิทยาลัยมหิดล]]
| publictransit = {{BTS Lines|เรือด่วนเจ้าพระยา}}: [[ท่าเรือสถานีรถไฟ|ท่ารถไฟ]]
| website = {{URL|http://www.sirirajmuseum.com}}
}}
}}

'''พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน''' หรือเดิมคือ '''สถานีรถไฟธนบุรี''' (หรือ '''บางกอกน้อย''') ตั้งอยู่ใน[[แขวงศิริราช]] [[เขตบางกอกน้อย]] [[กรุงเทพมหานคร]] มีความสำคัญในฐานะเคยเป็นสถานีต้นทางแห่งแรกของรถไฟสายใต้ ตัวสถานีรถไฟได้รับการออกแบบโดย[[หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ]] ซึ่งสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2493

เมื่อแรกนั้น ขบวนรถไฟสายใต้ทุกขบวน จะมีต้นทางปลายทางที่สถานีธนบุรีแห่งนี้ จนกระทั่งการก่อสร้างสะพานพระราม 6 ซึ่งถือเป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งแรก สำเร็จ เป็นการเชื่อมทางรถไฟสายเหนือ/สายอีสาน และสายใต้เข้าด้วยกัน รถไฟสายใต้จึงได้มีการเปลี่ยนต้นทาง-ปลายทางไปยังสถานีกรุงเทพบ้าง แต่กระนั้น ก็ยังมีขบวนรถไฟสายใต้อีกหลายขบวน ที่มีต้นทางและปลายทางที่สถานีธนบุรี ซึ่งในปัจจุบัน ขบวนรถที่มีต้นทางและปลายทางที่สถานีธนบุรี ประกอบด้วยขบวนรถธรรมดา 8 ขบวน ขบวนรถชานเมือง 2 ขบวน และรถเร็ว 2 ขบวน

เดิมทีเดียวอาคารสถานีบางกอกน้อย (ชื่อเมื่อแรกตั้ง) มิใช่ตัวอาคารที่เห็นในปัจจุบัน ซึ่งอาคารดั้งเดิมของสถานีบางกอกน้อยนั้นเป็นอาคารชั้นเดียวตั้งอยู่ริมทางรถไฟ(ทางประธาน)ด้านทิศใต้ ไม่ได้อยู่ปลายรางอย่างเมื่อมีการก่อสร้างขึ้นมาใหม่ เมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพญี่ปุ่นได้ตั้งกองบัญชาการขึ้นที่สถานีรถไฟบางกอกน้อย จากนั้นไม่นาน ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ส่งเครื่องบินเข้ามาทิ้งระเบิดสถานีรถไฟบางกอกน้อยอย่างหนัก ตัวอาคารสถานีรถไฟบางกอกน้อยได้รับความเสียหายบางส่วน แต่ที่ทำการรับส่งสินค้าที่ตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยาและคลังเก็บสินค้าริมคลองบางกอกน้อยถูกทิ้งระเบิดเสียหายทั้งหมด ต่อมาได้มีการก่อสร้างสถานีรถไฟบางกอกน้อยขึ้นมาใหม่ โดยรื้ออาคารสถานีเดิมออกไปพร้อมกับปรับปรุงและขยายย่านสถานีเดิม ตัวอาคารสถานีเป็นลักษณะอาคารสถาปัตยกรรมแบบใหม่ ซึ่งมีความโดดเด่น และสวยงามอย่างยิ่ง ตัวอาคารก่อสร้างจากอิฐสีแดง มีหอนาฬิกาตั้งตระหง่าน เห็นได้ชัดเจน และตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า สถานีธนบุรี

ปัจจุบัน การรถไฟแห่งประเทศไทยได้มอบที่ดินบริเวณสถานีธนบุรี ให้แก่[[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล|คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล]] จำนวน 33 ไร่ จึงทำให้ตั้งแต่ วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา ไม่มีการเดินรถไฟสายใต้จากสถานีธนบุรีแห่งนี้อีก หากแต่มีการเปลี่ยนต้นทาง-ปลายทางไปยัง "[[สถานีรถไฟธนบุรี|สถานีบางกอกน้อย]]" เป็นสถานีแห่งใหม่ ถัดออกไปราว 800 เมตร ซึ่งการรถไฟแห่งประเทศไทย ได้เคยจัดตั้งขึ้นไว้ก่อนหน้านี้ ถือเป็นสถานีชั้น 4 ต่อมาเมื่อเดือนมกราคม 2547 การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้มีการเปลี่ยนชื่อสถานี "บางกอกน้อย" เป็น "ธนบุรี" ส่งผลให้สถานีรถไฟธนบุรี (ริมแม่น้ำเจ้าพระยา) กับสถานีรถไฟบางกอกน้อย (บริเวณบ้านเนิน) กลายเป็น '''สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม)''' (ริมแม่น้ำเจ้าพระยา) และ '''สถานีรถไฟธนบุรี''' (บริเวณบ้านเนิน) ตามลำดับ<ref>{{cite newspaper|url=http://www.thairath.co.th/column/life/zoomzokzak/157213|title=จากสถานีบางกอกน้อย สู่...โรงพยาบาลศิริราช|trans_title=From Bangkok Noi Station to Siriraj Hospital|author=Zoom|date=20 March 2011|newspaper=Thai Rath}}</ref>

สถานีรถไฟธนบุรีเป็นสถานที่อ้างอิงถึงในวรรณกรรมเรื่อง ''[[คู่กรรม]]'' ประพันธ์โดย[[ทมยันตี]] ด้วยเป็นฉากจบและสถานที่เสียชีวิตของโกโบริ พระเอกในเรื่อง<ref>{{Cite web |url=http://tv.truelife.com/content/2202593 |title=TV : www.TrueLife.com เรื่องเม้าท์จากจอ By YuiiuY |access-date=2013-04-17 |archive-date=2013-03-13 |archive-url=https://web.archive.org/web/20130313095346/http://tv.truelife.com/content/2202593 |url-status=dead }}</ref>

== ระเบียงภาพ ==
<gallery>
ไฟล์:Thonburi railway station.jpg|สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) ใน พ.ศ. 2549
ไฟล์:Rail OldThonburi.jpg|สถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) เมื่อยังมีการเดินรถ
ไฟล์:SIRIRAJ BIMUKSTHAN MUSEUM - Bldg 1 - panoramio (2).jpg|หอนาฬิกาสถานีรถไฟธนบุรี ด้านหลังเป็นส่วนของ[[โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์]]
</gallery>

==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [https://www2.si.mahidol.ac.th/tmec2019/index.php/th/short-codes/9-explore/274-2019-06-16-09-14-43 พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน - คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20211105030654/https://www2.si.mahidol.ac.th/tmec2019/index.php/th/short-codes/9-explore/274-2019-06-16-09-14-43 |date=2021-11-05 }}
* [https://museum.li.mahidol.ac.th/th/museums/?p=871 พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน - พิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ ณ มหาวิทยาลัยมหิดล]

{{รถไฟ/บางซื่อ}}
{{สถานีขนส่งหลักของกรุงเทพมหานคร}}
{{สถานีรถไฟในอดีต}}
{{พิพิธภัณฑ์ในกรุงเทพ}}
{{เขตบางกอกน้อย}}

{{สร้างปี|2446}}
[[หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2546]]
[[หมวดหมู่:สถานีรถไฟที่ปิดทำการ]]
[[หมวดหมู่:พิพิธภัณฑ์ในเขตบางกอกน้อย|ศิริราชพิมุขสถาน]]
[[หมวดหมู่:โบราณสถานในเขตบางกอกน้อย]]
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างริมแม่น้ำเจ้าพระยา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:43, 11 มกราคม 2566

[1]

  1. ed
    xx