ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ ถูกย้อนกลับแล้ว
แทนที่เนื้อหาด้วย "หยัมปี้"
ป้ายระบุ: ถูกแทน ย้อนด้วยมือ ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
หยัมปี้
{{อักษรไทย1|ร}}
'''ร''' (เรือ) เป็น[[พยัญชนะ]] ตัวที่ 35 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[ย]] (ยักษ์) และก่อนหน้า [[ล]] (ลิง) จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรต่ำ]] ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า “ร เรือ”

อักษร ร เป็นได้ทั้ง[[พยัญชนะต้น]] ให้เสียง /r/ และ[[พยัญชนะสะกด]] ให้เสียง /n/

ร ที่เป็นพยัญชนะสะกดซึ่งตามหลังสระ ออ จะไม่ปรากฏ[[ตัวออ]] ให้ใช้ ร ต่อท้ายพยัญชนะต้นไปได้เลย เช่น กร (กอน) พร (พอน) ละคร (ละ-คอน) เป็นต้น
== เสียง ==
อักษร "ร" ตรงกับตัวเทวนาครี "र" ภาษามคธและภาษาสันสฤกตเป็น[[เสียงเปิด ลิ้นม้วน|เสียงเปิดลิ้นม้วน]] {{IPA|[ɻ]}} แต่ปัจจุบันภาษาฮินดีกลายเป็น[[เสียงกระดกลิ้น ปุ่มเหงือก|เสียงกระดกลิ้นปุ่มเหงือก]] {{IPA|[ɾ]}}

==ร หัน==
คำไทยบางคำที่ยืมมาจาก[[ภาษาเขมร]]และ[[ภาษาสันสกฤต]] จะมี ร ซ้อนกันสองตัวเรียกว่า '''ร หัน''' (รร) เมื่อตามหลังพยัญชนะต้นจะออกเสียงคล้ายมีสระ อะ และสะกดด้วยแม่กนหรือพยัญชนะตัวถัดไป เช่น บรรพชา (บัน-พะ-ชา) สรรพ (สับ) ธรรมะ (ทัม-มะ) เป็นต้น โดยมีหลัก หรือความนิยมในการใช้ ร หัน ดังนี้
# ใช้ในคำแผลงที่แผลงมาจาก ประ คระ กระ เช่น บรรทม บรรจุ ครรไล บรรจง กรรชิง
# ใช้ในคำแผลงที่แผลงมาจากคำที่มีตัวสะกดเป็นอย่างอื่น เช่น ภรรยา (บาลี ภริยา, สันสกฤต ภารยา) มรรค (บาลี มคฺค, สันสกฤต มารฺค) บรรยาย บรรษัท ฯลฯ
# ใช้เขียนคำที่รับมาจากภาษาสันสกฤต ซึ่งมีรูปศัพท์เดิม เป็น ร เรผะ เช่น กรรม (กรฺม) ธรรม (ธรฺม) วรรค (วรฺค) ฯลฯ

[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]
{{โครงภาษา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:44, 18 พฤศจิกายน 2565

หยัมปี้