ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Tryline sreyer/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

โอโทริ เคสุเกะ

โอโทริ เคสุเกะ (ญี่ปุ่น 大鳥 圭介) รัฐมนตรี กระทรวงกราโหม เเห่งสาธารณรัฐเอโซะ เป็น นายพล ในช่วง สงครามโบชิน ที่ได้อยู่ฝ่ายโชกุน โอโทริ เกิด ในปี 14 เมษายน ค.ศ 1833 เขาเกิดในครอบครัว ที่เป็นเเพทย์ เขาเป็นบุตรของ นายเเพทย์ Kobayashi Naosuke เมื่ออายุยังน้อย เขาเข้าเรียนที่โรงเรียนชิซึทานิในบิเซ็นเเละได้ศึกษาภาษาจีนและศึกษาต่อที่ โรงเรียน รังกากุ ซึ่งเป็นโรงเรียนชื่อดังแห่งโอกาตะ โคอันซึ่งเขาศึกษาภาษาดัตช์และการแพทย์เเบบตะวันตก เขาได้ไปเรียนต่อเพิ่มเติมที่เอโดะที่ซึ่งโอโทริเดินทางไปเข้าเรียนที่โรงเรียนของสึโบอิ ทาดามาสุซึ่งมีชื่อเสียงในด้านการสอนนักเรียนเกี่ยวกับการศึกษาและได้ทำหน้าที่เป็นล่ามให้เเก่ชาวดัตช์ ขณะที่อยู่ในเอโดะ เขายังได้รับการศึกษาจากเอกาวะ ทาโรซาเอมอนเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ทางการทหารและเรียนภาษาอังกฤษกับนากาฮามะ มันจิโรดังนั้นจึงได้รับความรู้ในสิ่งที่คนญี่ปุ่นสมัยนั้นน้อยมากที่จะมีความรู้เเบบนั้นเขารู้สึกชื้นชอบในวัฒนธรรมเเบบตะวันตก เเละในปี พ.ศ. 2402 รัฐบาลโชกุนโทกุงาวะได้แต่งตั้งให้เขาเป็นครูสอนที่ สถาบัน ไคเซโจและจากนั้นเป็นต้นมา เขาได้ก็เข้าสู่กองทัพโชกุน เวลาในกองทัพโทคุงาวะ แก้ไข หลังจากเข้าสู่กองทัพโทคุงาวะ โอโทริได้เป็นครูฝึกในฐานะครูผู้สอนยุทธวิธีทหารราบ ทำให้ที่ได้รับการฝึกจากเขาทพัฒนาอย่างรวดเร็วหลังจากใช้เเวลาครูฝึกเขาได้เป็นลูกศิษต์ จูลส์ บรูเน็ตในเมืองโยโกฮามาได้ระยะหนึ่ง โดยเรียนรู้ยุทธวิธีทหารราบของฝรั่งเศสโดยเฉพาะ เขาได้รับการเลื่อนตำแหน่งเป็น (ผู้พิพากษาทหารราบ(歩兵奉行, Hohei bugyō ) ) ซึ่งมียศเทียบเท่ากับนายพลสี่ดาวในกองทัพตะวันตกสมัยใหม่ . หรือ พลเอก อ่ะ โอโทริได้เป็นนักวิชาการตะวันตกศึกษาที่น่านับถือจากใครหลายๆคนเขาได้ทำในสิ่งที่ใครหลายๆคนต้องตะลึงคือในการให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิรูปรัฐบาลโชกุน ในปีพ.ศ. 2407 เขาได้ออกคำร้องเพื่อแสดงความเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของการมีสภานิติบัญญัติสองสภาต่อรัฐบาล ในตำแหน่งของเขาในกองทัพ โอโทริสามารถสร้างกองพลน้อยชั้นยอดเดนชูไตเเละได้ทำตามของนักยุทธศาสตร์ที่ประจำภารกิจทางทหารของฝรั่งเศสในญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2410–68 ประกอบด้วยชาย 800 คน สมาชิกของ Denshūtai ได้รับเลือกจากความสามารถมากกว่าภูมิหลัง เป็นเรื่องของความมุ่งมั่นโดยเฉพาะสำหรับโอโทริที่ยังคงคำนึงถึงการเกิดที่ค่อนข้างต่ำต้อยของตัวเอง สงครามโบชิน ผลพวงจากการพ่ายเเพ้ของฝั่งโชกุนในยุทธการโทบะ-ฟูชิมิในต้นปี พ.ศ. 2411 โชกุนโทกุงาวะ โยชิโนบุกลับมาที่เอโดะและคิดที่จะยอมเเพ้เเละ จะจงรักภักดีต่อรัฐบาลเมจิ ชุด ใหม่เเค่ โอโทริและโอกุริ ทาดามาสะเลือกที่จะไม่ยอมเเพ้เเละจะสู้กับกองทัพรัฐบาลเมจิต่อไป แต่หลังจากการยอมจำนนของปราสาทเอโดะ โอโทริได้รวบรวมทหารของกองทัพโชกุน 500 นายที่วัดโฮออนจิในอาซากุสะและออกจากเอโดะ เมื่อมาถึงอิชิคาวะเขาได้เข้าร่วมกับฮิจิคาตะ โทชิโซแห่งกลุ่มชินเซ็นกุมิอา กิซึกิ โทโนะสุเกะแห่งไอซุ ทัตสึมิ นาโอฟุมิแห่งคุวานะและคนอื่นๆ โดยขยายกำลังของเขาเป็น 2,000 นาย เขาแบ่งทหารราบออกเป็นสามกลุ่มและสั่งให้โจมตี หน่วยหนึ่งถูกเดินทัพไปยังนิกโกโดยเอาชนะกองทหารจักรวรรดิระหว่างทางที่โคยามะในจังหวัดชิโมสึเกะ หน่วยที่แยกออกมาภายใต้ฮิจิกาตะยังได้เอาชนะกองทัพจักรวรรดิที่ ปราสาท อุสึโนมิยะ ด้วย และเดินทางเข้าไปในปราสาทโดยทางโคยามะ เเต่สิ่งที่เขาจะไม่รู้คือเขาจะไม่ชนะในการต่อสู้อีก เมื่อไปถึงอาณาเขตของวากามัตสึคนของโอโทริก็เตรียมถอยทัพพร้อมปกป้องแนวทางตะวันตกสู่ไอซุ เเละได้หาคนมาเสริมกำลัง โอโทริยื่นคำร้องต่อมัตสึไดระ คาตะโมริให้รวบรวมชาวนาจากหมู่บ้านรอบประสาทรอบเเต่ไม่สำเร็จเเม้กองทัพใกล้ไอซึเ แต่ก็ถูกบังคับให้ล่าถอยในที่สุดเมื่อเผชิญกับการรุกคืบจากกองทัพจักรวรรดิ ที่มีกำลังพลเเละ อาวุธ ยุทโธปกรณ์ที่ทันสมัยกว่ส เเละทำให้ ระหว่างทางไปเซนได ที่นั่นเขาได้พบกับเอโนโมโตะ ทาเคอากิซึ่งมาถึงอ่าวมัตสึชิมะพร้อมกับเรือรบ 6 ลำของอดีตโชกุน เมื่อขึ้นเรือเขาเเละทหารโชกุนที่เหลือเเละ กองกำลังก็มุ่งหน้าสู่ฮาโกดาเตะฮอกไกโด หลังจากนั้นไม่นานสาธารณรัฐเอโซะก็ได้รับการสถาปนาขึ้น และจากความพยายามครั้งแรกในการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตยที่ญี่ปุ่นที่เป็นครั้งเเรก โอโทริได้รับเลือกเป็น รัฐมนตรีกระทรวงกราโหมอย่างไรก็ตาม ในแง่ของประสบการณ์ในสนามรบ Ōtori มีความเชี่ยวชาญทางวางเเผนเป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่ผู้บังคับบัญชาคนที่สองของเขาHijikata Toshizōมีประสบการณ์ในการต่อสู้มากกว่ามาก ทุกครั้บที่เขารบเเพ้เขามักจะพูดว่า Mata maketa yo! ("โอ้ เราแพ้อีกแล้วเหรอ!") ด้วยความที่ทุกครั้งเขาบัญชาการรบเขามักจะพ่ายแพ้อยู่บ่อยๆทำให้พวกเดียวกันไม่ค่อยชอบเท่าไหร่ ในยุทธการที่ฮาโกดาเตะเมื่อกองทัพจักรวรรดิล้อมป้อมปราการโกเรียวคาคุ เอโนโมโตะ ทาเคอากิต้องการไปเเนวหน้าเพื่อสู้ เเต่ โอโทริเป็นผู้เสนอให้ยอมจำนนอย่างสันติ โดยเปลี่ยนความคิดของเอโนโมโตะด้วยคำพูดที่ว่า "ถ้าคุณจะตาย คุณจะทำเมื่อไหร่ก็ได้ หลังจากนั้น Ōtori ถูกจับเข้าห้องขังและย้ายไปอยู่ในเรือนจำในโตเกียว ขณะอยู่ในคุก โอโทริยังคงใช้ความรู้ด้านการเรียนรู้แบบตะวันตกสอนเพื่อนนักโทษ เรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ

ว่ากันว่าระหว่างที่เขาถูกคุมขัง เขาไม่เพียงจะช่วยนิสัยที่ไม่ดีของผู้อำนวยเรือนจำเเล้ว แต่ยังสามารถสร้างระบบรัฐสภาในหมู่นักโทษได้อีกด้วย

หลังจากได้รับการปล่อยตัวในปี พ.ศ. 2415 โอโทริตกลงที่จะทำงานในรัฐบาลเมจิโดยเริ่มมีส่วนร่วมในการทำเกี่ยวกับที่ดินและต่อมาได้เป็นประธาน โรงเรียน กาคุชูอินเพียร์สในปี พ.ศ. 2429 ในปี พ.ศ. 2432 โอโทริถูกส่งไปเป็นทูตประจำราชวงศ์ชิงของจีนและราชวงศ์โชซอนของเกาหลี เขายังมีบทบาทสำคัญในการทำให้เกิดชนวน สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งแรก โอโทริยังมีส่วนร่วมในความพยายามที่จะอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นในสมัยก่อนด้วย

เในปี พ.ศ. 2441 เขาได้ช่วยแก้ไขและตีพิมพ์นิตยสารKyū Bakufuซึ่งเน้นไปที่การเก็บบันทึกความทรงจำและเรื่องราวของอดีตโชกุนโดยกลุ่มคนที่ดำรงตำแหน่งต่างๆ นอกจากนี้เขายังมีส่วนร่วมในการสร้างอนุสาวรีย์ผู้เสียชีวิตในสงครามในฮาโกดาเตะ

โอโทริ เคสุเกะ เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งหลอดอาหารสองเดือนหลังจากวันเกิดปีที่ 78 ของเขา (เป็นไปได้ ใครที่เขียนวิกิพีเดียเป็น ช่วยไปเขียนให้หน่อยนะครับ)