ผู้ใช้:Thanaphat999

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ประวัติ ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์[แก้]

ศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ เกิดวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2499
ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้อำนวยการสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

ประวัติการศึกษา[แก้]

ลำดับที่ ระดับการศึกษา สถานศึกษา
1 ปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2 ปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3 ปริญญาเอก Illinois State University, USA
4 ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
5 ปริญญาบัตร สถาบันพระปกเกล้า

ประวัติการทำงานที่สำคัญ[แก้]

  • คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  - วาระที่ 1 พ.ศ.2544 - 2548
           - วาระที่ 2 พ.ศ.2548 – 2552

  • เลขาธิการที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย

  - วาระที่ 1 พ.ศ.2541 - 2544
           - วาระที่ 2 พ.ศ.2545 - 2548
           - วาระที่ 3 พ.ศ.2549 – 2552

  • เลขานุการสถาบันการศึกษาขั้นอุดมแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASAIHL-THAILAND) พ.ศ.2542 – 2552
  • เลขานุการเครือข่ายที่ประชุมอธิการบดี (University Presidents Network : UPN) พ.ศ.2548 – 2552
  • ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ประจำคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองและการมีส่วนร่วม ของประชาชน วุฒิสภา พ.ศ.2554-ปัจจุบัน
  • ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้อำนวยการสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

งานวิจัย และงานวิชาการ[แก้]

งานวิจัย[แก้]

  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. หอศิลป์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2540. ทุนกาญจนาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับคนพิการ. พ.ศ.2542 – 2545. ทุนวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.).
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. การสร้างแบบทดสอบเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับคนพิการ. พ.ศ. 2544. ทุนวิจัยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.).
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. การศึกษารูปแบบเครื่องประดับอัญมณีเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมการส่งออก. พ.ศ. 2544. ทุนวิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. การสร้างดัชนีบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพทางศิลปวัฒนธรรม. พ.ศ. 2545. ทุนสนับสนุนสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. ศิลปินแห่งชาติ: กระบวนการสร้างสรรค์ทางศิลปะ. พ.ศ. 2546. ทุนวิจัยสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. Art for All เพื่อความมั่นคงของชาติ. พ.ศ. 2547. วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.).
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. การพัฒนาศักยภาพคนพิการ. พ.ศ. 2548. ทุนวิจัยสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ และคณะ. ดัชนีบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินคุณภาพด้านการทำนุ บำรุงศิลปวัฒนธรรม. พ.ศ. 2548. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. Art for All กับการพัฒนาคุณธรรม. พ.ศ. 2551. ทุนวิจัยศูนย์ศิลปะเพื่อมวลมนุษย์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • Channarong Pornrungroj. Nature Hug: Honoring Nature Through the Arts Social Responsibility in Thai Culture. ASEAN Youth Friendship Program A Flagship project of the ASEAN Committee on Culture and Information Philippines. 1998.
  • Channarong Pornrungroj. Visual Arts in ASEAN: Continuity and Change. Thailand Cultural Multiplicity. ASEAN Committee on Culture and Information Kuala Lumpur Malaysia. 2001.
  • Channarong Pornrungroj. Able Art for All : Urban Culture Research Vol.2. Art for All. Chulalongkorn University Printing House. 2004.

งานแต่งตำรา/หนังสือ[แก้]

  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. การวิจัยทางศิลปะ. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. การวิจัยทางศิลปะ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. ศิลปะเด็กพิเศษ Art for All. กรุงเทพฯ : โอเอส พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2542.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. กระบวนการสร้างค่ายศิลปะ. กรุงเทพฯ : บริษัท แม็ทส์ ปอยท์ จำกัด, 2543.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. การพัฒนาคนพิการด้วยศิลปะ. กรุงเทพฯ : สันติสิริการพิมพ์, 2544.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. ศิลป์: ยิน ยล สัมผัส. กรุงเทพฯ : ฟอร์แมท แอสโซซิเอทส์ จำกัด, 2544.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. ความคิดสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2546.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. พลังแห่งศิลป์. กรุงเทพฯ : ศูนย์ถ่ายอินเตอร์ จำกัด. 2546.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. ศิลปะสู่สังคม. กรุงเทพฯ : มปท, 2546.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. ศิลปินแห่งชาติ : กระบวนการสร้างสรรค์งานศิลปะ. กรุงเทพฯ : คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. ศิลปะเพื่อมวลมนุษย์. กรุงเทพฯ : แปลนพริ้นทติ้ง จำกัด, 2549.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. ศิลปะกับการพัฒนาคนพิการ. กรุงเทพฯ : สแควร์ปริ๊นซ์’93 จำกัด, 2549.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. ภาษามือ คำศัพท์ศิลปะ. กรุงเทพฯ : สแควร์ปริ๊นซ์’93 จำกัด, 2549.
  • ชาญณรงค์ พรุร่งโรจน์. ศิลปะ Art for All ประตูสู่จินตนาการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. มรดกทางศิลปวัฒนธรรม จากอ้อมกอดแห่งขุนเขา. กรุงเทพฯ : แปลนพริ้นท์ติ้ง, 2552.
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. ห้าคนรวมเป็นหนึ่งอัจฉริยะ. กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นท์ติ้ง, 2553
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. ครูสร้างคน คนสร้างศิลป์. กรุงเทพฯ : 2553

งานวิชาการ สมศ.[แก้]

งานหนังสือ[แก้]

  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. วิสัยทัศน์ สมศ. พ.ศ.2553-2556. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2553
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. อภิธานศัพท์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2553
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการในวาระครบ 9 ปี สมศ.. กรุงเทพฯ: จุดทอง, 2553
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง. กรุงเทพฯ: แม็ทช์พอยท์, 2553
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. ประเด็นคำถาม-คำตอบเกี่ยว กับการประเมินคุณภาพนอกรอบสาม. กรุงเทพฯ: แม็ทช์พอยท์, 2553
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับสถานศึกษา พ.ศ.2554 กรุงเทพฯ: แม็ทช์พอยท์, 2553
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับอุดมศึกษา ฉบับสถานศึกษา พ.ศ.2554 กรุงเทพฯ: ไทภูมิ พับลิชชิ่ง, 2553
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ด้านการอาชีวศึกษา ฉบับสถานศึกษา พ.ศ.2554 กรุงเทพฯ: แม็ทช์พอยท์, 2553
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี) ฉบับสถานศึกษา พ.ศ.2554 กรุงเทพฯ: จุดทอง, 2554
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. คุณภาพศิษย์ เป้าหมายการประเมิน. กรุงเทพฯ: จุดทอง, 2554
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ 10 ปี สมศ.. กรุงเทพฯ: สำนักพิพม์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2554
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน แก้ไขเพิ่มเติม พฤศจิกายน พ.ศ.2554 กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท พลัส, 2555
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับอุดมศึกษา แก้ไขเพิ่มเติม พฤศจิกายน พ.ศ.2554 กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท พลัส, 2555
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ด้านการอาชีวศึกษา แก้ไขเพิ่มเติม พฤศจิกายน พ.ศ.2554 กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท พลัส, 2555
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา.คู่มือผู้ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2554-2558. กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท พลัส, 2555
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา.คู่มือผู้ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ด้านการอาชีวศึกษา พ.ศ.2554-2558. กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท พลัส, 2555
  • สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา.คู่มือผู้ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2554-2558. กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท พลัส, 2555

บทความ[แก้]

  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. บทความ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และมาตรการส่งเสิรม. กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นติ้ง. 2555
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. บทความ การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นติ้ง. 2555
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. บทความ บทบาทของสมศ. กับการยกระดับคุณภาพการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นติ้ง. 2555
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. บทความ การประเมินคุณภาพเชินพื้นที่. กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นติ้ง. 2555
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. บทความ อุปนิสัยศึกษา: คุณลักษณะที่พึงประสงค์. กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นติ้ง. 2555
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. บทความ ทูตคุณภาพ กัลยาณมิตรแท้ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นติ้ง. 2555
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. บทความ ตัวบ่งชี้ 3มิติ เครื่องมือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม. กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นติ้ง. 2555
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. บทความ คุณภาพศิษย์: เป้าหมายการประเมิน. กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นติ้ง. 2555
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. บทความ 1 ช่วย 9 ห่วงโซ่คุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ: แปลนพริ้นติ้ง. 2555
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. บทความ ศิลปะร่วมสมัย...ต้องร่วมใจเพื่อคนไทย. สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม. 2556
  • ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. บทความ Art Behind Bars: Providing Peace for Prisoners. คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2556

บรรณธิการ[แก้]

บรรณาธิการ จุลสาร สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา “ประชาคมประกันคุณภาพการศึกษา” ตั้งแต่ปี พ.ศ.2553-ปัจจุบัน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับพระราชทาน[แก้]

  • ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.) พ.ศ. 2533
  • ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ต.ช.) พ.ศ. 2538
  • ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.) พ.ศ. 2540
  • ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.) พ.ศ. 2544
  • ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) พ.ศ. 2547
  • เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.) พ.ศ. 2550
  • ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) พ.ศ. 2550

ชื่อเสียง เกียรติคุณ เกียรติประวัติ ที่เคยได้รับการยกย่อง[แก้]

  • รางวัลอาจารย์ดีเด่น กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2544
  • รางวัลบุคคลดีเด่นด้านการสนับสนุนคนพิการ โดยคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2545
  • ผู้ริเริ่มโครงการศิลปะเพื่อมวลมนุษย์ (Art for All) โครงการดีเด่นของชาติ สาขาพัฒนาสังคม (ด้านพัฒนาผู้ด้อยโอกาส) ประจำปี พ.ศ.2545 สำนักนายกรัฐมนตรี
  • รางวัลเพชรชมพู คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2546
  • รางวัลศิษย์เก่าเกียรติยศ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551
  • รางวัลผู้ทำคุณประโยชน์กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2551
  • รางวัล “ตาราอวอร์ด” คนปลุกหัวใจสังคมด้วยหัวใจโพธิสัตว์ เสถียรธรรมสถาน พ.ศ. 2555
  • รางวัล “จิตร ประพัฒน์ พา” สาขาด้านวิชาการ มูลนิธินักเรียนเก่าอำนวยศิลป์ พ.ศ.2555
  • รางวัล “บุคคลตัวอย่างแห่งปี” สาขาส่งเสริมพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา นิตยสารเส้นทางไทย พ.ศ.2555
  • รางวัล “นวัตกรรมคุณภาพ” เครือข่ายการประกันคุณภาพแห่งภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (APQN) พ.ศ.2556
  • รางวัลกิตติคุณสัมพันธ์ “สังข์เงิน” ประเภทองค์กรที่มีผลงานดีเด่นด้านการประชาสัมพันธ์ จากสมาคมนักประชาสัมพันธ์