ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Thanakorn rakkuson/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ชื่อ : นายธนากร รักกุศล
ชื่อเล่น : มอส
ที่อยู่ปัจจุบัน : 588/2 ม.3 ถ.ราชสีมา-โชคชัย ต.หนองบัวศาลา อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000
การศึกษา :ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (นครราชสีมา) สาขาวิชาระบบสารสนเทศ ชั้นปีที่ 3
ตำแหน่งงานด้านไอทีที่สนใจ  : นักวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis : SA) และ ผู้พัฒนาโปรแกรม(developer) ชอบที่จะพัฒนาโปรแกรมและวิเคราะห์ออกแบบระบบให้กับองค์กร
ข้อคิดเตือนใจ : ชีวิตยังมีพรุ่งนี้เสมอ

--Thanakorn rakkuson (พูดคุย) 00:04, 4 มีนาคม 2558 (ICT)


F1 ถึง F12 รู้ไหมว่ามันทำอะไรได้บ้าง?

[แก้]


มักจะใช้เป็นคีย์ช่วยเกือบทุกโปรแกรมจะเปิดหน้าจอ
ป้อนการตั้งค่า CMOS
Windows Key + F1 จะเปิดตัวช่วยของ Microsoft Windows
เปิดบานหน้าต่างงาน
ใน Windows จะใช้ในการเปลี่ยนชื่อไอคอนหรือไฟล์
Alt + Ctrl + F2 เปิดเอกสารใหม่ในโปรแกรม Microsoft Word .
Ctrl + F2 จะแสดงหน้าต่างตัวอย่างก่อนพิมพ์ใน Microsoft Word
เข้าสู่การป้อนการตั้งค่า CMOS หรือ Bios
เปิดคุณลักษณะการค้นหาในหลายๆโปรแกรมรวมถึง Microsoft Windows
ใน MS - DOS หรือ Windows ของบรรทัดคำสั่ง F3 จะทำซ้ำคำสั่งสุดท้าย
Shift + F3 จะมีการเปลี่ยนแปลงข้อความใน Microsoft Word
เปิดพบหน้าต่าง
ทำซ้ำการกระทำล่าสุด ( Word 2000 ขึ้นไป )
Alt + F4 จะปิดโปรแกรมที่ใช้งานอยู่ใน Microsoft Windows
Ctrl + F4 จะปิดหน้าต่างที่เปิดอยู่ในหน้าต่างที่ใช้งานในปัจจุบันใน Microsoft Windows
ในทุกเบราว์เซอร์อินเทอร์เน็ต F5 จะรีเฟรชหรือโหลดหน้าเว็บหรือหน้าต่างเอกสาร
เปิดหน้าค้นหา แทนที่ และไปที่หน้าต่างใน Microsoft Word
เริ่มสไลด์โชว์ใน PowerPoint
ย้ายเคอร์เซอร์ไปที่ Address bar ใน Internet Explorerและ Mozilla Firefox .
Ctrl + Shift + F6 เปิดไปยังเอกสารอื่น ๆ ใน Microsoft Word
ปกติจะใช้เพื่อตรวจสอบการสะกดและไวยากรณ์ตรวจสอบเอกสารในโปรแกรม Microsoft เช่น Microsoft Word, Outlook, ฯลฯ
Shift + F7 ทำงานตรวจสอบบนคำที่ไฮไลต์
เปิดการใช้งานเลือนหน้าต่างด้วยปุ่มลูกศรบนคีย์บอร์ดใน Mozilla Firefox
แป้นฟังก์ชันที่ใช้ในการเข้าสู่เมนูเริ่มต้น Windows, นิยมใช้ในการเข้าถึง Windows แบบ Safe Mode .
เปิดแถบเครื่องมือวัดใน Quark 5.0
ใน Microsoft Windows เปิดใช้งานแถบเมนูของโปรแกรมที่เปิดอยู่
Shift + F10 เป็นเช่นเดียวกับการคลิกขวาบนไอคอนที่ไฮไลต์ไฟล์หรือการเชื่อมโยงอินเทอร์เน็ต
การเข้าถึงการกู้คืนพาร์ทิชันที่ซ่อนอยู่ ของ HP และ Sony คอมพิวเตอร์
ป้อนการตั้งค่า CMOS .
โหมดเต็มหน้าจอในเบราว์เซอร์อินเทอร์เน็ต
CTRL + F11 การเข้าถึง การกู้คืนพาร์ทิชันที่ซ่อนอยู่ในคอมพิวเตอร์ของ Dell
การเข้าถึงการกู้คืนพาร์ทิชันที่ซ่อนอยู่บน eMachines, Gateway, และคอมพิวเตอร์ Lenovo
เปิดหน้าที่ทำการบันทึกใน Microsoft Word
SHIFT + F12 บันทึกเอกสาร Microsoft Word
Ctrl + Shift + F12 พิมพ์เอกสารใน Microsoft Word



คีย์ลัดที่มีประโยชน์บน Windows

[แก้]


กดปุ่ม SHIFT

[แก้]
เมื่อใส่แผ่น CD , DVD เพื่อป้องกันไม่ให้ไดรฟ์ซีดี เรียกใช้แผ่นซีดีโดยอัตโนมัติ หรือหยุดการ Autorun
กด Shift + Delete เพื่อลบไฟล์ หรือโฟลเดอร์ ที่เลือกไว้อย่างถาวร
กด F2 เพื่อเปลี่ยนชื่อไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่เลือกไว้

กด CTRL + A

[แก้]
เพื่อเลือกทั้งหมด 

กด F3

[แก้]
ค้นหาไฟล์หรือโฟลเดอร์ในคอมพิวเตอร์

กด ALT + ENTER

[แก้]
ร่วมกัน เพื่อดูคุณสมบัติของรายการที่เลือก

กด ALT + F4

[แก้]
เพื่อปิดไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ใช้งานอยู่ 

กด CTRL + F4

[แก้]
เพื่อปิดไฟล์ โฟลเดอร์หรือ โปรแกรม ทั้งหมดที่ใช้งานอยู่

กด ALT + TAB

[แก้]
เพื่อสลับหน้าต่างระหว่าง แฟ้ม โฟลเดอร์ หรือ  โปรแกรม ที่เปิดอยู่

กด SHIFT + F10

[แก้]
เพื่อแสดงเมนูทางลัดสำหรับโปรแกรมที่เลือก 

กด CTRL + ESC

[แก้]
เพื่อเปิด Start menu

กด F10

[แก้]
เปิดแถบเมนูในโปรแกรมที่ใช้งาน 

ลูกศรขวา

[แก้]
เปิดเมนูถัดไปทางขวาหรือเปิดเมนูย่อย 

ลูกศรซ้าย

[แก้]
เปิดเมนูถัดไปทางซ้ายหรือปิดเมนูย่อย 

กด F5

[แก้]
เพื่อรีเฟรชหน้าต่างที่ใช้งาน 

BACKSPACE

[แก้]
ถอยหลังเพื่อดูโฟลเดอร์หนึ่งระดับใน My Computer หรือ Windows Explorer 

กดปุ่ม ESC

[แก้]
เพื่อยกเลิกการใช้งานใด ๆ


วิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์

[แก้]

ทำความสะอาด Registry ของคุณ

[แก้]
ข้อผิดพลาดและปัญหาภายในของรีจิสทรี เป็นส่วนสำคัญอย่างมากที่ทำให้เครื่องช้าสุด ๆ เดาได้เลยว่าพวกโปรแกรมสปายแวร์แอดแวร์และภัยคุกคามอื่น ๆมักจะกำหนดเป้าหมายที่รีจิสทรี ควรทำ  
ความสะอาดรีจิสทรีบ่อย ๆ แต่ไม่ควรที่จะทำได้ด้วยตนเอง เพราะมีโอกาสสูงที่จะทกให้สร้างความเสียหายต่อระบบปฏิบัติการของเครื่องพีซี สิ่งที่แนะนำคือหาพวกโปรแกรม Windows registry cleanup
ให้มันจัดการทำความสะอาดให้เราโปรแกรมแนวนี้ก็มีเยอะมากและก็ทำงานแบบเดียวกัน ถ้ายังไงบทความต่อ ๆ ไปจะหามาฝากกัน หรือใครที่ลงโปรแกรม USB Security Disk มันจะมีออฟชั่้นนี้อยู๋แล้ว

ลบไฟล์ที่ไม่จำเป็น

[แก้]
ทุกครั้งที่คุณเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตหรือใช้คอมพิวเตอร์ของคุณ ไฟล์ชั่วคราวจะถูกสร้างขึ้น พวกเขามักจะใช้เพียงครั้งเดียว แต่อย่างไรก็ตามไฟล์พวกนี้ไม่ได้ลบออกไปเวลาเลิกใช้งาน แต่จะสะสมไป 
เรื่อย ๆ เมื่อเวลาผ่านไปนาน ๆ ก็จะมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงาน ในขณะที่การจะทำการลบไฟล์เหล่านี้ง่ายมาก ซึ่งควรที่จะทำเช่นนั้นประมาณหนึ่งครั้งต่อสัปดาห์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ของคุณ
ทำงานได้ดีขึ้น การลบไฟล์ขยะ พวกนี้ก็เคยนำการลงไว้แล้วเ่ช่นกันครับ ลองหาดูในเว็บเราได้เลย สำหรับคนที่ยังไม่รู้

เอาโปรแกรมที่ไม่จำเป็น

[แก้]
คุณอาจจะดาวน์โหลดและลองใช้โปรแกรมที่แตกต่างกันในแต่ละเดือน แต่จริง ๆ แล้วได้ใช้เป็นประจำหรือไม่ การถอนการติดตั้งโปรแกรมที่ไม่ได้ใช้และไม่จำเป็นออกจะทำให้จัดการระบบแฟ้มของ 
คอมพิวเตอร์ให้ดีขึ้นไม่กระจัดกระจาย ทำให้ลดเวลาในการหาข้อมูล เพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งจะดีขึ้นอย่างมาก มันทำได้ง่ายด้วย โดยใช้ Add / Remove Programs ของ
Control Panel การทำก็หาในเว็บได้เลยครับ

ลบ ไฟล์ขยะใน Recycle Bin

[แก้]
เมื่อ "ลบ" แฟ้มหรือโปรแกรมมันไม่ได้หายไปเล่ย แต่จะตั้งอยู่ใน Recycle Bin ซึ่งความรกของมันอาจทำให้ครื่องคอมพิวเตอร์ของสามารถเริ่มต้นการแสดงปัญหาที่น่ารำคาญได้มากมาย 
ดังนั้นควรทำให้เป็นนิสัยโดยการลบประมาณหนึ่งครั้งต่อสัปดาห์ มันดูง่าย ๆ แต่ที่สำคัญสามารถสร้างความแตกต่าง ได้มากมาย ซึ่งผมก็ทำทุกวัน

ดำเนินการจัดระเบียบดิสก์

[แก้]
Windows ไม่ได้ฉลาดมากนักในการจัดเก็บไฟล์ มันจะจัดเก็บไฟล์ลงบนช่องว่างที่มีอยู่ โดยอาจเว้นระยะห่างกันมากในแต่ละชิ้นส่วนของไฟล์ เมื่อเรียกไฟล์มาทำงาน ถ้าเป็นไฟล์ขนาดใหญ่คงใช้เวลานาน 
หน่อย กว่ามันจะเรียกมาได้ การทำ Disk Defragmentation เป็นทางออกเพื่อจัดเรียงไฟล์ให้เรียบร้อย ทำสัก สี่เดือนครั้งก็จะเห็นความแต่งต่าง ได้ชัดเจนมาก การบำรุงรักษาเล็ก ๆ แต่มันเป็นวิธีที่ดีที่สุด
ในการป้องกันเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ ซึ่งผมเองก็ทำอยู่ บางครั้ง บางคนถามว่าจะทำไปทำไม ไม่เห็นมีข้อแตกต่างอะไรเลย แต่คำตอบรออยู่อีก ห้าเดือนข้างหน้าตอนที่คนถามลงวินโดวส์ใหม่
แต่ของเรายังไวเท่าเดิม ลองไปศึกษาทำดูครับ



LAN TOPOLOGY

[แก้]

โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology)

[แก้]
โทโปโลยีแบบบัส บางทีก็เรียกว่า Linear bus เพราะมีการเชื่อมต่อแบบเส้นตรงซึ่งเป็นลักษณะการเชื่อมต่อที่ง่ายที่สุด และเป็นโทโปโลยีที่นิยมกันมากที่สุดใน
สมัยแรกๆ

ลักษณะการส่งข้อมูล
การส่งข้อมูลบนเครือข่ายที่มีโทโปโลยีแบบบัสนั้นข้อมูลจะถูกส่งไปบนสายสัญญาณในรูปแบบของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสัญญาณนี้จะเดินทางไปถึง
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้ากับสื่อกลางบัสแต่ เฉพาะคอมพิวเตอร์เครื่องที่มีอยู่ตรงกับที่อยู่ของผู้รับที่อยู่ในข้อมูลเท่านั้น จึงจะนำข้อมูลนั้นไปทำ
การโพรเซสส์ต่อไป ส่วนเครื่องอื่นๆ ก็จะไม่สนใจข้อมูลนั้น เนื่องจากสายสัญญาณเป็นสื่อกลางที่ใช้ร่วมกัน ดังนั้น คอมพิวเตอร์แค่เครื่องเดียวเท่านั้นที่จะ
ส่งข้อมูลได้ในเวลาใดเวลาหนึ่ง

ข้อดี
1.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง
2.มีโครงสร้างง่ายและระบบก็มีความน่าเชื่อถือเพราะใช้สายส่งข้อมูลเพียงเส้นเดียว
3.ง่ายในการเพิ่มจุดบริการใหม่เข้าสู่ระบบ

ข้อเสีย
1.การตรวจหาข้อผิดพลาดของระบบทำได้ยาก
2.ในกรณีที่สายส่งข้อมูลเกิดเสียหายจะทำให้ระบบ ทั้งระบบไม่สามารถทำงานได้


ไฟล์:Star topology 1.png
Star topology 1

โทโปโลยีแบบดวงดาว (Star Topology)

[แก้]
โทโปโลยีแบบดวงดาว (Star Topology) นี้ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อด้วยสายสัญญาณเข้ากับอุปกรณ์รวมศูนย์ที่เรียกว่า “ ฮับ” โดยการเชื่อมต่อแบบ
ดวงดาวคือ เมื่อคอมพิวเตอร์เครื่องใด
จะส่งข้อมูลก็จะส่งไปที่ฮับก่อน แล้วฮับจะทำหน้าที่กระจายข้อมูลไปยังทุกเครื่องที่เชื่อมเข้ากับฮับ

ข้อดี
- ง่ายในการให้บริการ
- อุปกรณ์ 1 ตัวต่อสายส่ง 1 เส้น ทำให้การเสียหายของอุปกรณ์ในระบบไม่มีผลกระทบต่อการทำงานในจุดอื่นๆ
- ตรวจหาข้อผิดพลาดได้ง่าย

ข้อเสีย
-ต้องใช้สายส่งข้อมูลจำนวนมาก
-ถ้าจุดศูนย์กลางเกิดการเสียหาย จะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถจะทำงานได้


โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)

[แก้]
โทโปโลยีแบบวงแหวนนี้จะใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นห่วงหรือวงแหวน การเชื่อมต่อแบบนี้สัญญาณจะเดินทางเป็นวงกลมในทิศทางเดียว และจะ
วิ่งผ่านคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องซึ่งจะทำหน้าที่ทวนสัญญาณไปในตัวแล้วส่งผ่านไปเครื่องถัดไป ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเครื่องใดหยุดทำงานก็จะทำให้ระบบ
เครือข่ายล่มเช่นกัน การส่งต่อโทเคน (Token Passing) วิธีที่จะส่งข้อมูลในโทโปโลยีแบบวงแหวนเรียกว่าการส่งต่อโทเคน โทเคนเป็นข้อมูลพิเศษที่ส่งผ่านใน
เครือข่ายแบบวงแหวน แต่ละเครือข่ายจะมีเพียงโทเคนเดียวเท่านั้น โทเคนนี้จะส่งต่อกัน ไปเรื่อยๆ สำหรับเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลเมื่อได้รับโทเคนแล้วก็จะมี
สิทธิ์ที่จะส่งข้อมูล การส่งข้อมูลก็ทำได้โดยใส่ที่อยู่ของเครื่องรับไว้ในข้อมูลแล้วส่งต่อๆ กันไป เมื่อข้อมูลมาถึงเครื่องปลายทางหรือเครื่องที่มีที่อยู่ตรงกับที่ระบุ
ในเฟรมข้อมูล เครื่องนั้นก็จะนำข้อมูลไปโพรเซสส์ และส่งเฟรมข้อมูลตอบรับกลับไปยังเครื่องส่งเพื่อบอกให้ทราบว่าได้รับข้อมูลเรียบร้อยแล้ว เมื่อเครื่องส่งได้รับ
การตอบรับแล้ว ก็จะส่งผ่านโทเคนต่อไปยังเครื่องถัดไป เพื่อเครื่องอื่นจะได้มีโอกาสส่งข้อมูลบ้าง

ข้อดี
-ใช้สายส่งข้อมูลน้อยจะใกล้เคียงกับแบบ Bus
-ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง
-ง่ายในการเพิ่มจุดบริการใหม่เข้าสู่ระบบ

ข้อเสีย
-ถ้าจุดใดจุดหนึ่งเสียหายจะทำให้ระบบทั้งระบบไม่สามารถติดต่อกันได้
-ยากในการตรวจสอบข้อผิดพลาด


ไฟล์:ระบบ Mesh.png
ระบบ Mesh

โทโปโลยีแบบเมซ (Mesh Topology)

[แก้]
โทโปโลยีเมซคือ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบสมบูรณ์ กล่าวคือ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายจะเชื่อมต่อถึงกันหมดโดยใช้สายสัญญาณทุกการเชื่อต่อ 
วิธีการนี้จะเป็นการสำรองเส้นทาง เดินทางข้อมูลได้เป็นอย่างดี เช่น ถ้าสายสัญญาณเส้นใดเส้นหนึ่งขาด ก็ยังมีเส้นทางอื่นที่สามารถส่งข้อมูลได้ นอกจากนี้ยัง
เป็นระบบที่มีความเชื่อถือได้สูง แต่ข้อเสียก็คือ เครือข่ายแบบนี้จะใช้ สัญญาณมาก ดังนั้น ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งระบบก็เพิ่มขึ้น ในการเชื่อมต่อจริงๆ นั้นการ
เชื่อมต่อแบบเมซนั้นมีการใช้งานน้อยมาก

ข้อดี
-การมีเส้นทางสำรองข้อมูล จึงได้มีการประยุกต์ใช้การเชื่อมต่อแบบเมซบางส่วน หรือการเชื่อมต่อแบบเมซที่ไม่สมบูรณ์ กล่าว คือ จะเชื่อมต่อเฉพาะสิ่งที่จำ
เป็นหรือสำคัญเท่านั้น

ข้อเสีย
-การเชื่อมต่อหลายจุด

WAN TECHNOLOGY

[แก้]

เครือข่ายเซอร์กิตสวิตช์ circuit switching

[แก้]
ลักษณะที่สำคัญ คือก่อนจะเริ่มส่งข้อมูลจะต้องกำหนดเส้นทางการส่งข้อมูลก่อน โดยต้นทางจะมีการร้องขอ (Request) ว่าจะส่งข้อมูลให้ และปลายทางจะต้องตอบรับ (Acknowledge) ว่าพร้อม
จะรับข้อมูลนั้น ดังนั้นจึงสูญเสียเวลาช่วงหนึ่งสำหรับการติดต่อนี้ ก่อนเริ่มส่งข้อมูลกันจริงๆ ตัวอย่างของเครือข่ายเซอร์กิตสวิตช์ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดในปัจจุบันคือ เครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ

ข้อเสียของการส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายเซอร์กิตสวิตช์คือ เนื่องจากเทอร์มินัลอื่นไม่สามารถเข้ามาร่วมใช้สายเดียวกันในเวลาเดียวกันได้ และเวลาส่วนหนึ่งจะสูญเสียไปกับการร้องขอและการตอบรับ
การส่งข้อมูล ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับการส่งไฟล์ข้อมูลที่ต่อเนื่อง และใช้งานตลอดเวลา เช่น ระบบ ATM ระบบการเงิน ตลาดหลักทรัพย์ บริการดาต้าเนต

เครือข่ายแมสเสดสวิตช์ Message switching

[แก้]
การส่งข้อมูลในเครือข่ายแมสเสดสวิตช์จะเหมาะสำหรับการส่งข้อมูลแบบ ดิจิตอล ซื่งผู้ส่งจะส่งข้อมูลไปทีละบล็อกข้อมูลซื่งเรียกว่า แมสเสด (Message) ตัวอย่างของแมสเสดได้แก่ โทรเลข 
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Email) หรือไฟล์ข้อมูลคอมพิวเตอร์ บางครั้งเราเรียกเครือข่ายแมสเสดสวิตช์นี้ว่า " เครือข่าย store - and - forward "

เครือข่ายแพ็กเกจสวิตช์ Packet switching

[แก้]
การส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายแพ็กเกจสวิตช์ ขนาดของบล็อกของข้อมูลจะถูกจำกัดขนาด จึงจำเป็นต้องแบ่งบล็อกข้อมูลออกเป็นแพ็กเกจ (Packet) เพื่อทำให้มีขนาดเล็กลงในการส่งข้อมูลนั้น
ข้อมูลจะถูกส่งออกไปทีละแพ็กเกจเรียงลำดับตามกันโดยแต่ละสถานีจะเป็น store - and - forward หากมีความผิดพลาดเกิดขึ้นในแพ็กเกจใดสถานีสวิตช์ชิ่งนั้นก็จะทำการ้องขอให้สถานีก่อน
หน้านั้นส่งเฉพาะแพ็กเกจที่ผิดพลาดนั้นมาใหม่ ลักษณะอย่างหนึ่งที่สำคัญมากสำหรับเครือข่ายแพ็กเกจสวิตช์คือการเลือกการจัดวงจร (เส้นทาง) ของข้อมูลเป็นแบบ วงจรเสมือน (Virtual Circuit)
และแบบ วงจรดาต้าแกรม (Datagram Circuit)

ข้อดีของการสื่อสารข้อมูลแบบผ่านเครือข่ายแพ็กเกจสวิตช์ ได้แก่
1.ก่อนเริ่มต้นการส่งข้อมูล วงจรไม่จำเป็นต้องมีการยืนยันการตอบรับจากคู่สายก่อน อย่างเช่น เครือข่ายเซอร์กิตสวิตช์
2.ข้อมูลจะถูกส่ง เป็นแพ็กเกจขนาดไม่ใหญ่นัก ถ้ามีความผิดพลาดเกิดขึ้นทำให้ไม่เสียเวลามากนั้นในการส่งให้ใหม่
3.สามารถตรวจสอบความผิดพลาดที่เกิดขี้นได้ง่าย
4.การกำหนดวงจรหรือเส้นทางก็ไม่จำเป็นต้องตายตัว จึงมีความยืดหยุ่นกว่าเครือข่ายแบบเซอร์กิตสวิตช์และแบบแมสเสดสวิตช์



OSI model + TCP/IP model

[แก้]
OSI TCP/IP Protocols
7 Application Process/Application FTP,Telnet,HTTP,SMTP,SNMP,DNS,etc
6 Presentation Process/Application FTP,Telnet,HTTP,SMTP,SNMP,DNS,etc
5 Session Process/Application Host-to-Host TCP UDP
4 Transport Host-to-Host TCP UDP
3 Network Internet ICMP,IGMP,Ip
2 Data Link Network Access Not Specified
1 Physical Network Access Not Specified

อ้างอิงข้อมูลทั้งหมด

[แก้]
http://www.superict.com/component/viewrecord.php?id=674
http://www.superict.com/component/viewrecord.php?id=551&section_id=1&catagory_id=1
http://www.superict.com/component/viewrecord.php?id=573&section_id=1&catagory_id=1
http://thongsek.blogspot.com/2009/06/busstraringmash-5.html
http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/datacom/sws.html