ผู้ใช้:Sleepybenzg/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

แม่แบบ:การตรวจสอบการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  การตรวจสอบการดำเนินงานององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ การตรวจสอบการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการนำงบประมาณแผ่นดินมาใช้ดำเนินกิจกรรม โดยอยู่ภายใต้การควบคุมของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กระทำโดยคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน [1]  พระราชบัญญัติจัดตั้งอ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง อ้างอิงที่ไม่มีชื่อต้องมีเนื้อหา ให้อำนาจกระทรวงมหาดไทยในการตราระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการคลัง ซึ่งต้องผ่านการอนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด
  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้มีการบัญญัติให้การตรวจเงินแผ่นดินกระทำโดยคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน[2] และสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินที่มีความเป็นเอกเทศแยกออกมาจาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหนึ่งที่ต้องถูกตรวจสอบโดยสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน  ซึ่งมีการกำหนดปรับโทษแก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ที่ฝ่าฝืนมาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการเงินของรัฐ

วิธีการตรวจสอบการดำเนินงาน[แก้]

การตรวจสอบภายใน[แก้]

  การตรวจสอบภายใน เป็นเครื่องมือในการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานภายในองค์กร การตรวจสอบภายในช่วยให้องค์กรสามารถบรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้ และช่วยส่งเสริมให้เกิดกระบวนการกำกับดูแลที่ดี (Good Governance) ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน(Efficiency and Effectiveness of Performance) เป็นการถ่วงดุลอำนาจ(Check and Balance)

ประเภทของการตรวจสอบภายใน

การตรวจสอบทางการเงิน(Financial Auditing) เป็นการตรวจสอบความถูกต้องเชื่อถือได้ ของข้อมูลและตัวเลขต่างๆทางการเงิน การบัญชี เพื่อป้องกันการรั่วไหล สูญหาย ของทรัพย์สินต่างๆ

การตรวจสอบการดำเนินงาน(Performance Auditing) เป็นการตรวจสอบการดำเนินงานตามแผนงาน ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

การตรวจสอบการบริหาร(Management Auditing) เป็นการตรวจสอบการบริหารงานด้านต่างๆ ว่าเป็นไปตามหลักการบริหาร ในเรื่องความน่าเชื่อถือ ความเป็นธรรม

การตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อกำหนด(Compliance Auditing) เปนการตรวจสอบการปฏิบัติงานตาง ๆขององคกรวาเปนไปตามนโยบาย กฎหมายระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของอาจจะทําการตรวจสอบโดยเฉพาะหรือถือเปนสวนหนึ่งของ การตรวจสอบทาง การเงิน หรือการตรวจสอบการดําเนินงานก็ได้

การตรวจสอบระบบสารสนเทศ(Information System Auditing) เปนการพิสูจนความถูกตองและเชื่อถือไดของระบบงาน และขอมูลที่ไดจากการปะมวลผลดวยคอมพิวเตอร รวมทั้ง ระบบการเขาถึงขอมูลในการปรับปรุงแกไข และการรักษาความปลอดภัยของขอมูล การตรวจสอบประเภทนี้เปนสวนหนึ่งของงานตรวจสอบภายในเกือบทุกงาน

การตรวจสอบพิเศษ (Special Auditing) หมายถึง การตรวจสอบในกรณีที่ไดรับมอบหมายจากฝายบริหาร หรือกรณีที่มีการทุจริตหรือการกระทําที่สอไปในทางทุจริต ผิดกฎหมาย หรือกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยวา จะมีการกระทําที่สอไปในทางทุจริตจะดําเนินการตรวจสอบเพื่อคนหาสาเหตุ ขอเท็จจริงผลเสียหายหรือผูรับผิดชอบ พรอมทั้งเสนอแนะมาตรการปองกัน[3]

มาตรฐานการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน[แก้]

มาตรฐานการตรวจสอบภายใน เปนการกําหนดขอปฏิบัติหลัก ๆ ของการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ประกอบดวย มาตรฐานดานคุณสมบัติ และมาตรฐานการปฏิบัติงาน

1. มาตรฐานดานคุณสมบัติ ประกอบดวย

1) วัตถุประสงค อํานาจหนาที่ ความรับผิดชอบของงานตรวจ ทั้งนี้หนวยตรวจสอบภายในควรกําหนดวัตถุประสงค อํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบ ของงานตรวจสอบภายในอยางเปนทางการไวในกฎบัตรการตรวจสอบภายใน เพื่อใชเปนกรอบอางอิงและเปนแนวทางปฏิบัติงานที่สําคัญของหนวยตรวจสอบภายใน

2) ความเปนอิสระและความเที่ยงธรรมความเปนอิสระในการรายงานผลการตรวจสอบ ไมถูกแทรกแซงความเที่ยงธรรม ในการปฏิบัติหนาที่ดวยความเที่ยงธรรม ซื่อสัตย สุจริตและมีจริยธรรมและไมมีอคติ

3) ความเชี่ยวชาญและความระมัดระวังรอบคอบความเชี่ยวชาญ ผูตรวจสอบภายในควรมีความรูทักษะความสามารถ ประสบการณในการปฏิบัติงานเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพ ความระมัดระวังรอบคอบ ในการปฏิบัติหนาที่ดวยความระมัดระวังรอบคอบ ไดรับการยอมรับ และความเชื่อถือจากผูที่เกี่ยวของ

4) การประกันคุณภาพและการปรับปรุงอยางตอเนื่องหัวหนาหนวยตรวจสอบภายในควรปรับปรุงและรักษาระดับคุณภาพของงานตรวจสอบภายใน โดยมีการปรับปรุงงานตรวจสอบภายในใหครอบคลุมทุก ๆ ดานและติดตามดูแลประสิทธิภาพ ของงานอยางตอเนื่อง

2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน โดยกลาวถึงประเด็นตาง ๆ ดังนี้

1) การบริหารงานตรวจสอบภายในหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน ควรบริหารงานตรวจสอบภายในใหเกิดสัมฤทธิ์ผลมีประสิทธิภาพ เพื่อใหงานตรวจสอบภายในสามารถสรางคุณคาเพิ่มใหกับองคกร

2) ลักษณะของงานตรวจสอบภายในงานตรวจสอบภายใน คือ การประเมินเพื่อเพิ่มคุณคาและปรับปรุงการปฏิบัติงานของสวนราชการใหดีขึ้น ชวยใหสวนราชการบรรลุเปาหมายที่วางไวถึงเปาหมายที่วางไว และปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารความเสี่ยง โดยการควบคุม และการกํากับดูแลของสวนราชการ การประเมินความเสี่ยง โดยผูตรวจสอบภายในควรเขาไปติดตามประเมินประสิทธิภาพของการบริหารความเสี่ยงของสวนราชการภายในองคกร

3) การวางแผนการตรวจสอบ ผูตรวจสอบภายในควรจัดทําแผนการปฏิบัติงานตามภารกิจที่ไดรับมอบหมายทั้งในดานการใหหลักประกันและการใหคําปรึกษา โดยควรคํานึงถึง

- วัตถุประสงคของงานและวิธีการดําเนินงานตรวจสอบภายใน อันจะทําใหการปฏิบัติงานบรรลุผล

- ความเสี่ยงที่สําคัญ ๆ ที่มีผลกระทบตอความสําเร็จและความเสี่ยงที่อยูในระดับที่ยอมรับได

- ความเพียงพอและความมีประสิทธิภาพของกิจกรรมการบริหารความเสี่ยงและระบบการควบคุม เมื่อเปรียบเทียบกับกรอบการปฏิบัติงาน กฎ ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของ

- โอกาสในการปรับปรุงกิจกรรมการบริหารความเสี่ยงและระบบการควบคุม

4) การวางแผนการปฏิบัติงาน ผูตรวจสอบภายในควรรวบรวม วิเคราะห ประเมิน และบันทึกขอมูลใหเพียงพอตอการปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายใหบรรลุตามวัตถุประสงค และหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายในควรควบคุมการปฏิบัติงานที่ไดมอบหมายอยางใกลชิด เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาการปฏิบัติงานจะสามารถบรรลุตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว้

5) การรายงานผลการปฏิบัติงาน ผูตรวจสอบภายในควรรายงานผลการปฏิบัติงานอยางทันกาล โดยรายงานดังกลาวประกอบดวย วัตถุประสงคขอบเขต การสรุปผลการตรวจสอบ ความคิดเห็น ขอเสนอแนะ และแนวทางในการปรับปรุงแกไขที่ สามารถนําไปปฏิบัติไดดวยความถูกตอง ครบถวน ชัดเจน เที่ยงธรรม รัดกุม สรางสรรคและรวดเร็ว

6) การติดตามผลหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายในควรกําหนดระบบการติดตามผลวาไดมีการนํา ขอเสนอแนะในรายงานผลการปฏิบัติงานไปสูการปฏิบัติ

7) การยอมรับสภาพความเสี่ยงของฝายบริหารหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายในควรนําเรื่องความเสี่ยงที่อาจกอใหเกิดความเสียหายแกสวนราชการแตยังไมไดรับการแกไขหารือกับหัวหนาสวนราชการ หากยังไมสามารถดําเนินการแกไขได หัวหนาสวนราชการ และหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายในควรรายงานใหคณะกรรมการตรวจสอบทราบ

จริยธรรมของผูตรวจสอบภายใน[แก้]

เพื่อเปนการยกฐานะและศักดิ์ศรีของวิชาชีพตรวจสอบภายใน ใหไดรับการยกยองและ ยอมรับจากบุคคลทั่วไปรวมทั้งใหการปฏิบัติหนาที่เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ผูตรวจสอบภายในจึงยึดถือและดํารงไวซึ่งหลักปฏิบัติดังตอไปนี้

1. ความมีจุดยืนที่มั่นคง (Integrity)

2. ความเที่ยงธรรม (Objectivity)

3. การปกปดความลับ (Confidentiality)

4. ความสามารถในหนาที่ (Competency)

คุณสมบัติของผู้ตรวจสอบภายใน

นอกเหนือจากคุณสมบัติตามมาตรฐานกําหนดตําแหนงของสํานักงานคณะกรรมการ ขาราชการพลเรือน(สํานักงาน ก.พ.) ผูตรวจสอบภายในที่ดีจะตองเปนผูที่มีความรูในวิชาชีพ และความรู ในสาขาวิชาอื่นซึ่งจําเปนตอการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน และตองมีคุณสมบัติสวนตัวที่จําเปนและ เหมาะสม ดังนี้

1. มีความเชี่ยวชาญในหลักวิชาพื้นฐานทจี่ ําเปนตอการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน เชน การบัญชีเศรษฐศาสตรกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกบการปฏับัติงานขององคกรทั้งจากภายใน และภายนอกองคกร และเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. มีความรู ความชํานาญ ในการปรับใชมาตรฐานการตรวจสอบภายใน และเทคนิค การตรวจสอบตาง ๆที่จําเปนในการตรวจสอบภายใน

3. มีความรอบรูเขาใจในหลักการบริหาร เทคนิคการบริหารงานสมัยใหมการวางแผนงาน การจัดทําและการบริหารงบประมาณ

4. มีความสามารถในการสื่อสาร การทําความเขาใจในเรื่องตาง ๆ การวิเคราะห การประเมินผล การเขียนรายงาน

5. มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตยสุจริตตอองคกรและเพื่อนรวมงาน

6. มีมนุษยสัมพันธที่ดีวางตัวเปนกลาง รูจักกาลเทศะ ยึดมั่นในอุดมการณ หลักการที่ ถูกตอง กลาแสดงความเห็นในสิ่งที่ไดวิเคราะห และประเมินจากการตรวจสอบ

7. มีความอดทน หนักแนน รับฟงความคิดเห็นผูอื่น

8. มีปฏิภาณ ไหวพริบ มีความสามารถที่จะวินิจฉัยและตดสั ินปญหาตาง ๆ ไดอยางถูกตอง เที่ยงธรรม

9. เปนผูมีวิสัยทัศน มองการณไกล ติดตามวิวัฒนาการที่ทันสมัย มีความคิดริเริ่ม สรางสรรคและมองปญหาดวยสายตาเยี่ยงผูบริหาร


===การตรวจสอบโดยสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน===[4]

  1. สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินมีอำนาจหน้าที่ในการตรวจสอบองค์กรทางปกครอง โดยใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน ลักษณะการตรวจสอบที่ใช้
  2. ตรวจสอบการเงินทั่วไป
  3. ตรวจสอบงบการเงิน
  4. ตรวจสอบการจัดเก็บรายได้
  5. ตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้าง
  6. ตรวจสอบการดำเนินงาน
  7. ตรวจสอบสืบสวน
  8. ตรวจสอบลักษณะอื่น

องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบการดำเนินงาน[แก้]

  1. สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
  2. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน]]
  3. ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
  4. สำนักวินัยทางการเงินและการคลัง
  1. มณเฑียร เจริญผล. (2550). การตรวจสอบการดำเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน. สืบค้นจากhttp://kpi.ac.th/media/pdf/M10_220.pdf. สืบค้นวันที่ 26/4/2560.
  2. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/A/098/1.PDF
  3. ไม่ปรากฎชื่อผู้แต่ง. ไม่ปรากฎปีที่พิมพ์. สืบค้นจาก http://www.audit.moi.go.th/pdf_new/14-2.pdf. วันที่สืบค้น 26/4/2560.
  4. http://www.oag.go.th/th/%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9C%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%8A%E0%B8%AD%E0%B8%9A. วันที่สืบค้น 26/4/2560