ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Settachok001/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชื่อ - สกุล : นายเศรษฐโชค คำมณีจันทร์
ชื่อเล่น : เกมส์
551531022023-3

ข้อมูลส่วนตัว

[แก้]


ที่อยู่ปัจจุบัน

[แก้]
บ้านเลขที่ 353 ถ.มิตรภาพหนองคาย ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา นครราชสีมา 30000

ปัจจุบันศึกษาที่

[แก้]
กำลังศึกษาที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 3

ตำแหน่งงานที่สนใจ

[แก้]
งานด้านไอดี ที่สนใจ คือนักวิเคาระห์ระบบ เพราะจะได้ดูแลควบคุมการทำงานขององค์กร 

บทความด้านไอที

[แก้]

คีย์ลัดที่มีประโยชน์บน Windows

[แก้]

นำเอาเคล็ดลับและเทคนิคคีย์ลัดที่มีประโยชน์ บน Windows ที่หากใช้บ่อย ๆ จะทำให้เราทำงานต่าง ๆ ได้เร็วขึ้น และสะด้วยกขึ้น มาก
เอามาแบบที่น่าใช้ เพราะถ้าเยอะเกิน ก็ จำไม่ค่อยได้ หรือไม่ค่อยได้ ใช้ เอา แบบที่ใช้แล้วช่วยเราได้มากละกันครับ


กดปุ่ม SHIFT เมื่อใส่แผ่น CD , DVD เพื่อป้องกันไม่ให้ไดรฟ์ซีดี เรียกใช้แผ่นซีดีโดยอัตโนมัติ หรือหยุดการ Autorun
กด Shift + Delete เพื่อลบไฟล์ หรือโฟลเดอร์ ที่เลือกไว้อย่างถาวร
กด F2 เพื่อเปลี่ยนชื่อไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่เลือกไว้


กด CTRL + A เพื่อเลือกทั้งหมด


กด F3 ค้นหาไฟล์หรือโฟลเดอร์ในคอมพิวเตอร์


กด ALT + ENTER ร่วมกัน เพื่อดูคุณสมบัติของรายการที่เลือก


กด ALT + F4 เพื่อปิดไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ใช้งานอยู่


กด CTRL + F4 เพื่อปิดไฟล์ โฟลเดอร์หรือ โปรแกรม ทั้งหมดที่ใช้งานอยู่


กด ALT + TAB เพื่อสลับหน้าต่างระหว่าง แฟ้ม โฟลเดอร์ หรือ โปรแกรม ที่เปิดอยู่


กด SHIFT + F10 เพื่อแสดงเมนูทางลัดสำหรับโปรแกรมที่เลือก


กด CTRL + ESC เพื่อเปิด Start menu


F10 เปิดแถบเมนูในโปรแกรมที่ใช้งาน


ลูกศรขวา เปิดเมนูถัดไปทางขวาหรือเปิดเมนูย่อย


ลูกศรซ้าย เปิดเมนูถัดไปทางซ้ายหรือปิดเมนูย่อย


กด F5 เพื่อรีเฟรชหน้าต่างที่ใช้งาน


BACKSPACE ถอยหลังเพื่อดูโฟลเดอร์หนึ่งระดับใน My Computer หรือ Windows Explorer


กดปุ่ม ESC เพื่อยกเลิกการใช้งานใด ๆ


วีธีแก้ไดรว์ซีดีรอมหาแผ่นไม่เจอ ง่ายๆ

[แก้]


ไดรว์ซีดีรอม อ่านแผ่นได้บ้างไม่ได้บ้าง หาแผ่นไม่เจอ แก้ปัญหาอย่างไร
ปัญหานี้อาจมีหลายคนเ่คยเจอกันมาบ้างแล้ว โดยเฉพาะคนที่ใช้คอมมาเป็นเวลานาน อาจจะเกิดปัญหาดังกล่าว ก่อนที่เราจะัทำการแก้ไขเราต้องรู้สาเหตุเสียก่อนว่ามันเกิดขึ้นได้อย่างไร
tip นี้เราจะัมามาบอกปัญหาและวิธีการแก้ไขกันอย่างง่ายๆ ที่บางคนอาจจะไม่เคยรู้มาก่อน.!


ปัญหา นี้มักจะไม่เกิดกับไดรว์ซีดีรอมตัวใหม่ ๆ ครับ แต่ส่วนใหญ่จะเกิดกับไดรว์ซีดีรอมที่มีการใช้งาน มานานแล้ว หรือประมาณ 1 ปีขึ้นไป และสาเหตุที่เห็นกันบ่อยก็คือหัวอ่านสกปรก
ส่วนใหญ่จะเป็นพวกฝุ่น เข้าไปกับแผ่นซีดี แล้วเราก็นำมันเข้าไปอ่านในไดรว์ ฝุ่นก็เลยเข้าไปติดที่หัวอ่าน พอสะสมมาก ๆ เข้าก็เลย ทำให้เกิด อาการดังกล่าว อ่านแผ่นไม่ได้บ้างละ หาแผ่นไม่เจอบ้างละ


วิธีการแก้ไข คือทำความสะอาดหัวอ่าน โดยใช้แผ่นซีดีที่ไว้สำหรับทำความสะอาดหัวอ่าน ที่มีขายอยู่ตามร้านคอมพิวเตอร์ทั่วไปมาใช้ รับรองอาการดังกล่าวจะไม่เกิดขึ้นแน่นอนเป็นวิธีการแก้ไขอย่างง่ายๆ ที่ไม่ยุ่งยากเลย



10 เหตุผลที่ต้องเปลี่ยนมาใช้ LINUX

[แก้]


Linux ตอนนี้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมกับผู้ใช้ในชีวิตประจำวัน และความอยากรู้เกี่ยวกับลินุกซ์ของผู้ใช้คอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นทุกวันต่อไปนี้เป็นเหตุผลสิบอันดับแรกเป็นสาเหตุที่คุณต้องสลับไปใช้ลินุกซ์ !


1) การรักษาความปลอดภัย : ลินุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ซึ่งมีชื่อเสียงในสิทธิ์ของผู้ใช้ที่เข้มงว ลินุกซ์รวมเอาคุณลักษณะนี้เป็นหลักสิ่งนี้ทำให้มันเหนือกว่าในแง่ของการรักษาความปลอดภัย
ไวรัส/ มัลแวร์บนอินเทอร์เน็ต ส่วนมากสร้างมาให้มีผลต่อระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ดังนั้นลินุกซ์เป็นระบบที่ปลอดภัยที่สุด ในการเรียกดูอินเทอร์เน็ตและการใช้ซอฟแวร์


2) ฟรี : “Free and Open-Source Software” ความหมายของ FOSS ลินุกซ์"ฟรี"ไม่ว่าคุณจะเห็นมัน ส่วนใหญ่มีการแจกลินุกซ์โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและคุณสามารถดาวน์โหลดได้ทันที
เพื่อเปรียบเทียบ Windows และ Max OS X คุณต้องชำระเงินหลายร้อยดอลลาร์และยังคงเกิดขึ้นกตลอดไป


3) ความเร็ว : หนึ่งข้อดีที่นิยมมากที่สุดของลินุกซ์, Ubuntu ใช้เวลาในการ บูต ในเพียงสิบวินาที ความเร็วระดับนี้จะไม่เคยจะไม่เคยได้เห็นในระบบปฏิบัตการอื่น ๆ ซึ่งมีการแข่งขันลินุกซ์ในแง่
ของความเร็วในการทำงาน ในขณะที่ Windows มีชื่อเสียง ในเรื่องช้าเนื่องจากกระบวนการที่ ทำงานอยู่จำนวนมาก Linux ผ่านปัญหาดังกล่าวได้อย่างง่ายดาย ถึงแม้จะใช้มัน 5-6 เดือนที่มีจำนวนมากของ
โปรแกรมที่ติดตั้ง, ลินุกซ์จะไม่แสดงความแตกต่างในเรื่องของความเร็ว


4) Hardware ดังกล่าวเป็นอีกหนึ่งจุดขายสำหรับลินุกซ์ ฮาร์ดแวร์ที่ถูกสร้างขึ้นก็พร้อมที่จะทำงานกับมันได้เลย ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อสนับสนุนฮาร์ดแวร์เก่าและการเรียกใช้ขั้นต่ำด้วยหน่วยความ
จำและฮาร์ดดิสก์ OS นี้เป็นประโยชน์สำหรับคนที่ไม่อยากซื้อฮาร์ดแวร์เใหม่ล่าสุด


5) ทนทาน : นี่คือเหตุผลหลักว่าทำไมองค์กรขนาดใหญ่ชอบที่จะใช้ ลินุกซ์ สำหรับใช้เซิร์ฟเวอร์ของตน เนื่องจากความเสถึยรของมันสามารถรันเป็นเดือน ๆ โดยไม่เกิดปัญหาใด ๆ เลย


6) สุดยอดการสนับสนุน : ลินุกซ์ได้รับการสนับสนุน โดยชุมชนขนาดใหญ่ที่เต็มไปด้วยผู้ใช้ที่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ผู้ใช้ใหม่ที่มีคำถามมากมายเกี่ยวกับวิธีการใช้งานลินุกซ์ของพวกเขา
พวกเขาจะได้รับตอบข้อสงสัยจาดหนึ่งในฟอรั่มจำนวนมากที่ให้การสนับสนุน ตั้งแต่ปัญหาการติดตั้งจิ๊บจ๊อย เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการ


7) ทางเลือก : ลินุกซ์เป็นเรื่องเกี่ยวกับตัวเลือก มีการแจกแจงในการเลือกและมีหลายรูปแบบเช่น 32 บิต, 64 บิตเดสก์ทอป เซิร์ฟเวอร์ และมีเกือบตลอดเวลาทางเลือกของการเลือกระหว่าง
เดสก์ทอปยอดนิยมที่เรียกว่า GNOME และ KDE พวกเขาจะพบกับประสบการณ์ใหม่สำหรับผู้ใช้ที่สามารถใช้งานกับการเลือกตัวแปรที่ดีที่สุด


8) การเรียนรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมใหม่ : เมื่อ Linus Torvalds สร้างมันขึ้นครั้งแรกเขาไม่เคยคาดหวังว่ามันจะกลายเป็นระบบปฏิบัติการที่การพัฒนาและมีผู้ใช้งานมากขนาดนี้
ในเคอร์เนลลินุกซ์พยายามที่จะทำให้การเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์และปรับ ปรุงประสบการณ์ให้แก่ชุมชน พวกเขาจะได้เรียนรู้เทคนิคเหล่านี้ขณะที่ พวกเขาได้เจอกับสถาพแล้วล้อมของระบบใหม่ๆ


9) การสนับสนุน ซอฟแวร์: แหล่งซอฟต์แวร์เป็นอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในอนาคตของ การส่งเสริมให้ผู้ใช้สามารถใช้ลินุกซ์จะช่วยให้การสนับสนุนซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สมีขนาดใหญ่ขึ้นมาก


10) เสรีภาพ : สำหรับผู้ที่มีทักษะการเขียนโปรแกรม, Linux พิสูจน์ให้เห็นแล้วเพราะมันมาพร้อมกับซอร์สโค้ดและผู้ใช้มีอิสระในการปรับ เปลี่ยน และเผยแพร่น นี่คือคุณลักษณะเฉพาะของซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สและลินุกซ์
วัตถุประสงค์ของบทความนี้คือเพื่อให้คุณได้รู้ว่าสิบเหตุผลสำหรับ การเปลี่ยนมาใช้ลินุกซ์



LAN Technology

[แก้]

แบบบัส ( BUS Topology )

[แก้]

เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนสายสัญญาณหลักเส้นเดียว ที่เรียกว่า BUS ทีปลายทั้งสองด้านปิดด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Teminator ไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์เครื่องใดหยุดทำงาน ก็ไม่มีผลกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย


ข้อดี ของการเชื่อแบบบัส คือ


- สามารถติดตั้งได้ง่าย เนื่องจากเป็นโครงสร้างเครือข่ายที่ไม่ซับซ้อน
- การเดินสายเพื่อต่อใช้งาน สามารถทำได้ง่าย
- ประหยัดค่าใช้จ่าย กล่าวคือ ใช้สายส่งข้อมูลน้อยกว่า เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับสายหลักได้ทันที
- ง่ายต่อการเพิ่มสถานีใหม่เข้าไปในระบบ โดยสถานีนี้สามารถใช้สายส่งข้อมูลที่มีอยู่แล้วได้


ข้อเสียของการเชื่อแบบบัส คือ


- ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดไปจากสถานีใดสถานีหนึ่ง ก็จะทำให้ระบบเครือข่ายนี้หยุดการทำงานลงทันที
- ถ้าระบบเกิดข้อผิดพลาดจะหาข้อผิดพกลาดได้ยาก โดยเฉพาะถ้าเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่


แบบดาว ( Star topology )

[แก้]

เป็นการเชื่อมต่อสถานีหรือจุดต่าง ๆ ออกจากคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่เรียกว่า File Server แต่ละสถานีจะมีสายสัญญาณเชื่อมต่อกับศูนย์กลาง ไม่มีการใช้สายสัญญาณร่วมกัน
เมื่อสถานีใดเกิดความเสียหายจะไม่มีผลกระทบกับสถานีอื่น ๆ ปัจจุบันนิยมใช้อุปกรณ์ HUB เป็นตัวเชื่อมต่อจากคอมพิวเตอร์แม่ข่ายหรือคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง


ข้อดีของการเชื่อมแบบดาว


- ง่ายต่อการใช้บริการ เพราะมีศูนย์กลางอยู่ที่คอมพิวเตอร์แม่ข่ายอยู่เครื่องเดียวและเมื่อเกิดความเสียหายที่คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นก็จะไม่มีผลกระทบอันใดเพราะใช้สายคนละเส้น


ข้อเสียของการเชื่อมแบบดาว


- ต้องใช้สายสัญญาณจำนวนมาก เพราะแต่ละสถานีมีสายสัญญาณของตนเองเชื่อมต่อกับศูนย์กลางจึงเหมาะสมกับเครือข่ายระยะใกล้มาก กว่าการเชื่อมต่อเครือข่ายระยะไกล
การขยายระบบก็ยุ่งยากเพราะต้องเชื่อมต่อสายจากศูนย์กลางออกมา ถ้าศูนย์กลางเสียหายระบบจะใช้การไม่ได้


แบบวงแหวน ( Ring Topology )

[แก้]

เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายเป็นรูปวงแหวนหรือแบบวนรอบ โดยสถานีแรกเชื่อมต่อกับสถาน สุดท้าย การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายจะต้องผ่านทุกสถานี โดยมีตัวนำสารวิ่งไปบนสายสัญญาณของแต่ละสถานี
ต้องคอยตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมา ถ้าไม่ใช่ของตนเองต้องส่งผ่านไปยังสถานีอื่นต่อไป


ข้อดีของการเชื่อมแบบแหวน


- ใช้สายสัญญาณน้อยกว่าแบบดาว เหมาะกับการเชื่อมต่อด้วยสายสัญญาณใยแก้วนำแสง เพราะส่งข้อมูลทางเดียวกันด้วยความเร็วสูง


ข้อเสียของการเชื่อมแบบแหวน


- ถ้าสถานีใดเสียระบบก็จะไม่สามารถทำงานต่อไปได้จนกว่าจะแก้ไขจุดเสียนั้น และยากในการตรวจสอบว่ามีปัญหาที่จุดใดและถ้าต้องการเพิ่มสถานีเข้าไปจะพกหระทำได้ยากด้วย


แบบเมชหรือแบบตาข่าย (Mesh Topology)

[แก้]

รูปแบบเครือข่ายแบบนี้ ปกติใช้ในระบบเครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network) ลักษณะการสื่อสารจะมีการต่อสายหรือการเดินของข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือโหนดไปยังโหนดอื่น ๆ ทุก ๆ ตัว
ทำให้มีทางเดินข้อมูลหลายเส้นและปลอดภัยจากเหตุการณ์ที่จะเกิดจากการล้มเหลวของระบบ แต่ระบบนี้จะมีค่าใช้จ่ายมากกว่าระบบอื่น ๆ เพราะต้องใช้สายสื่อสารเป็นจำนวนมาก


ข้อดีของการเชื่อมแบบเมชหรือแบบตาข่าย


- ในกรณีสายเคเบิ้ลบางสายชำรุด เครือข่ายทั้งหมดยังสมารถใช้ได้ ทำให้ระบบมีเสถียรภาพสูง นิยมใช้กับเครือข่ายที่ต้องการเสถียรภาพสูง และเครือข่ายที่มีความสำคัญ


ข้อเสียของการเชื่อมแบบเมชหรือแบบตาข่าย


- สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และสายเคเบิ้ลมากกว่าการต่อแบบอื่น ๆ
- ยากต่อการติดตั้ง เดินสาย เคลื่อนย้ายปรับเปลี่ยนและบำรุงรักษาระบบเครือข่าย


WAN Technology

[แก้]

Circuit switching

[แก้]


ความหมายของ Circuit switching


Circuit switching เทคนิคในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง เมื่อมีการเชื่อมต่อกันแล้วจะติดต่อกันได้ตลอดเวลา ผู้อื่นจะแทรกเข้ามาไม่ได้เลย จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะปลดวงจรออก ตัวอย่างง่าย ๆ
เช่นการติดต่อทางสายโทรศัพท์ เมื่อเริ่มพูดกันได้แล้ว คนอื่นจะต่อสายแทรกเข้ามาไม่ได้ จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะวางหูลง (ปลดวงจร)


หลักการทำงาน Circuit switching


1) เมื่อสถานีA ต้องการส่งข้อมูลให้กับ สถานีB จะต้องมีการสร้างเส้นทางเสียก่อน โดยที่ฝั่งที่รับข้อมูลจะต้องตอบว่าพร้อมรับข่าวสาร (Establishment/ Connection)
2) เมื่อสร้างเส้นทางการส่งข้อมูลเรียบร้อย ตลอดเวลาของการสื่อสารจะใช้เส้นทางเดิมตลอดและไม่มีบุคคลอื่นมาใช้เส้นทาง
3) มีอัตราความเร็วในการส่งเท่ากันทั้งด้านรับและด้านส่ง
4) มีการทำ Error Control และ Flow Control ทุกๆ ชุมสาย
5) ในขณะทำการส่งข้อมูล ข้อมูลจะถูกส่งด้วยความเร็วคงที่ และไม่มีการหน่วงเวลา(Delay)
6) เมื่อส่งข้อมูลเสร็จจะยกเลิกเส้นทางที่ได้เชื่อมต่อขึ้นมาเพื่อให้เครื่องอื่นได้ใช้เส้นทางได้


ตัวอย่างระบบ Circuit switching


-โมเด็มและระบบโทรศัพท์ (Modem and Telephone System)\
- สายคู่เช่า (Leased Line)
- ISDN (Integrated Services Digital Network)
- DSL (Digital Subscriber line)
- เคเบิลโมเด็ม (Cable Modem)


ลักษณะการเชื่อมต่อ


เชื่อมต่อทางกายภาพของวงจรระหว่างจุดต่อจุด (point-to-point)


ข้อดี Circuit switching


- ปริมาณในการส่งข้อมูลได้ อัตราการส่งข้อมูล ความเร็วในการส่งข้อมูลจะคงที่ อัตราเดิม
- Delay ที่เกิดขึ้นจะเรียกว่า propagation delay คือเวลาที่ข้อมูลวิ่งอยู่ในสายสัญญาณ – เร็วเท่าแสง
- Delay ที่ node คือเวลาที่ข้อมูลวิ่งระหว่าง node อาจเป็น delay ที่เกิดเนื่องจากการประมวลผลอะไรบางอย่าง ถือว่าน้อยมากจนถือว่าไม่สำคัญ เพราะว่ามันแทบจะไม่เกิด


ข้อเสีย Circuit switching


-หากคอมพิวเตอร์หรือเทอร์มินัลติดต่อกับศูนย์ข้อมูล ในการเรียกค้นข้อมูลเป็นระยะจะทำให้มีช่วงเวลาที่สายสัญญาณ ไม่มีการใช้และผู้อื่นก็ใช้ไม่ได้ ธรรมชาติของการใช้งานไม่ได้ออกแบบ
มาให้ใช้งานพร้อมกันอย่างเต็มประสิทธิภาพ เช่น ระบบโทรศัพท์ 100 เลขหมาย จะสามารถใช้งานพร้อมๆกันได้ไม่ถึง 50%
- การเชื่อมโยงอุปกรณ์ระหว่างสถานีต้นทางกับปลายทางต้องตกลงและใช้มาตรฐานเดียวกัน
- การติดต่อสื่อสารข้อมูลนี้ผู้ใช้จะต้องมีระบบซอฟต์แวร์ในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเอง เพราะชุมสายจะไม่มีระบบตรวจสอบข้อมูลในชุมสายทำหน้าที่เพียงการสวิตช์วงจรให้เท่านั้น
Circuit Switching นั้นออกแบบมาเพื่อส่งข้อมูลทางเสียง
- อัตราการส่งข้อมูลจะเป็นตัวจำกัดอุปกรณ์ที่ต่อพ่วงเนื่องจากถูกออกแบบมาเพื่อส่งข้อมูลทางเสียงในอัตราที่มนุษย์สามารถรับรู้ ได้
- มีขีดจำกัดแน่นอนอยู่แล้วที่ระบบ Hardware
- ยากและลงทุนสูงในการ Upgrade backbone


Packet switching

[แก้]


ความหมายของ Packet switching


เทคนิคในการแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่ม (Packet) แต่ละกลุ่มจะมีความยาวเท่ากัน (ปกติ 100บิต)ข้อมูลจะหาทิศทางเดินไปได้เอง โดยที่สายหนึ่ง ๆ จะสามารถใช้กันได้หลายคน เมื่อถึงที่ปลายทางข้อมูลก็จะกลับ ไปรวมกันเอง


หลักการทำงาน Packet switching


1) เมื่อ สถานี A ต้องการส่งข้อมูลให้กับสถานีB จะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็น Packet ย่อยก่อนจะถูก ส่งออกไป
2) ส่งข้อมูลโดยใช้ชุมสาย PSE (Packet switching exchange) ควบคุมการรับส่ง
3) ทำ Error control หรือ Flow Control ที่ PSE
4) ด้านรับและด้านส่งมีอัตราความเร็วที่ไม่เท่ากันได้
5) ใช้เทคนิค Store - and - Forward ในการส่งข้อมูล ผ่าน PSE


ตัวอย่างระบบ Packet switching


เป็นเทคโนโลยีพื้นฐานที่ใช้ในการ ส่งข้อมูลภายในสำหรับระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในปัจจุบัน ระบบที่เป็น Package switch เช่น Frame relay เป็นระบบโทรศัพท์แบบดิจิตอล และ ATM
เป็นระบบการส่งข้อมูลประเภท ภาพและเสียง (multimedia)


ลักษณะการเชื่อมต่อ Packet switching


ส่งแต่ละแพกเกตด้วยเส้นทางต่างๆที่เชื่อมโยงกันเป็นตาข่าย และทำการรวมแต่ละแพคเกตกลับคืนเมื่อถึงจุดหมายแล้ว


ข้อดี Packet switching


- Flexibility โครงข่ายดังกล่าวนี้ทำให้ใช้งานพร้อมกันหลาย ๆ ระบบได้ โดยงานประยุกต์แต่ละระบบไม่ยุ่งเกี่ยวกัน แต่ใช้ผ่านชุมสายเดียวกัน
- Robustness มีความแข็งแกร่ง ถ้าเส้นทางใดเส้นทางหนึ่งเสียหายก็สามารถใช้เส้นทางอื่นได้ อุปกรณ์ต้นทางกับปลายทาง สามารถส่งด้วยความเร็วที่ต่างกันได้เพราะชุมสายจะเป็นผู้แปลงสัญญาณ ให้ความเร็วเข้ากันได้
- Responsiveness มีการรับประกันความถูกต้องของข้อมูลที่รับส่งทำให้ระบบมีความเชื่อถือสูง สามารถใช้ในระบบที่โต้ตอบด้วยความเร็วได้ ตัว IMP สามารถที่จะทำงานเพิ่มเติมบางอย่างได้
เช่น การตรวจสอบความ ผิดพลาดก่อนที่จะส่งต่อไป หรืออาจทำการเปลี่ยนรหัสก่อนก็ได้


ข้อเสีย Packet switching



-บางครั้งถ้ามีปริมาณPacket จำนวนมากเข้ามาพร้อมกันจะทำให้ IMPทำงานไม่ทัน อาจทำให้มีบางPacket สูญหายไปได้ - มี delay เกิดขึ้นในระหว่างที่ส่งข้อมูล
= ความยาวของ package / ขนาดของ overhead datarate ขนาดของ package มีขนาดไม่แน่นอน
-Package แต่ละ package อาจวิ่งไปคนละเส้นทางได้ แต่ละเส้นทางจะมี delay ไม่เท่ากัน ซึ่งทำให้เกิดปัญหา package ที่ส่งมาที่หลังมาถึงก่อน ฝ่ายรับต้องมีวิธีจัดการกับ package ที่ยุ่งยากขึ้น
-ถ้ามี delay มากจะเกิดความแออัดในเครือข่าย
- มี overhead เกิดขึ้นในการส่งข้อมูล โดย overhead ที่เกิดขึ้นคือที่อยู่ของปลายทาง, sequence ซึ่งทำให้ส่งข้อมูลได้น้อย ทำให้ประสิทธิภาพในการส่งลดลง


OSI model + TCP/ IP mode

[แก้]
_ OSI Model _ _________ TCP/IP __________
7 Application Application FTP,Telnet,HTTP,
SMTP,SNMP,DNS,etc
6 Presentation Application FTP,Telnet,HTTP,
SMTP,SNMP,DNS,etc
5 Session Application
Host-to-Host
TCP UDP
4 Transport Host-to-Host TCP UDP
3 Network Internet ICMP,IGMP
Ip
2 Data link Network Access Not Specified
1 Physical Network Access Not Specified

หน้าที่การทำงานของชั้นสื่อสาร

[แก้]
ลำดับชั้น ชื่อชั้นสื่อสาร หน้าที่ของชั้นสื่อสาร
1. Physical เคลื่อนย้ายข้อมูลระดับบิตจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป
2. Data link เคลื่อนย้ายเฟรมจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป
3. Network ส่งมอบแพ็กเก็ตจากโฮสต์หนึ่งไปยังโฮสต์ปลายทาง
4. Transport ส่งมอบข่างสารจากโปรเซสต้นทางไปยังโปรเซสปลายทาง
5. Session ควบคุมการสื่อสารและการซิงโครไนซ์
6. Presentation แปลงข้อมูล เข้ารหัสข้อมูล และบีบอัดข้อมูล
7. Application จัดการงานบริการให้แก่ผู้ใช้