ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Sanchaitangaon/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชื่อ - สกุล : นายสัญชัย แตงอ่อน
ชื่อเล่น : โจ้
รหัสนักศึกษา: 551531022040-7

ข้อมูลส่วนตัว

[แก้]

ที่อยู่ปัจจุบัน

[แก้]

บ้านเลขที่ 116/1 ซอย11 ถนน สุรนารายณ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา นครราชสีมา 30000

ปัจจุบันศึกษาที่

[แก้]

กำลังศึกษาที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 3

ตำแหน่งงานที่สนใจ

[แก้]

IT Subport

บทความด้านไอที

[แก้]

4 วิธีป้องกัน กรณีพบเว็บไซต์ธนาคารปลอม จ่อขโมยรหัสผ่านธนาคารออนไลน์

[แก้]

ThaiCERT (ไทยเซิร์ต) หน่วยงานด้านรักษาความปลอดภัยบนโลกอินเทอร์เน็ตในไทย เตือนผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ระวังภัยอาชญากรรมไซเบอร์ใกล้ตัว หลัง Thaicert ได้รับแจ้งว่ามีลูกค้าธนาคาร พบหน้าเว็บไซต์หลอกหลวง หวังขโมย username และ password ของผู้ใช้บริการธนาคารออนไลน์ โดยพบเมื่อวันที่ 7 มีนาคมที่ผ่านมา

เว็บไซต์ปลอมดังกล่าวนี้มาจาก URL คือ www.kasikornbankgroup.ru ซึ่งส่วนท้ายของชื่อโดเมน หรือ TLD เป็นของประเทศรัสเซีย จากข้อมูลพบว่าเว็บไซต์ดังกล่าวตั้งอยู่ที่ประเทศลัตเวีย ทั้งนี้ Thaicert ได้เร่งประสานงานไปยัง National CERT ของประเทศลัตเวีย รวมถึง ผู้ให้บริการ Hosting ของเว็บไซต์ดังกล่าวเพื่อให้ช่วยดำเนินการแก้ไข อีกทั้งรีบดำเนินการแจ้ง Google และ Netcraft เพื่อให้เว็บเบราว์เซอร์บล็อกหากผู้ใช้งานถูกหลอกลวงให้เข้าเว็บไซต์ดังกล่าว และแจ้งเตือนหน้าเว็บไซต์ปลอมนั้นแล้ว

วิธีการป้องกันเมื่อพบเว็บไซต์ธนาคารปลอม
1.อย่าเชื่อใจในลิงก์ที่ได้รับ ก่อนจะคลิกลิงก์ควรนำลูกศรเม้าส์ชี้ที่ลิงค์ ว่าไปเว็บไซต์ธนาคารจริงหร่อไม่ หากไม่แน่ใจควรพิมพ์URL ของธนาคารด้วยตัวเอง

2.หากผู้ใช้งานหลงกล กรอกไปยังเว็บปลอมไปดังกล่าวแล้ว ให้รีบทำการล็อกอิน เปลี่ยนรหัสผ่านทันที ทั้งเว็บไซต์ธนาคารจริง อีเมล , facebook รวมถึงตรวจสอบความผิดปกติในส่วนอื่น ๆ เช่น ส่วนการกู้คืนข้อมูล อาจมีการถูกเปลี่ยนแปลงไปเป็นข้อมูลของผู้ไม่หวังดี เป็นต้น

3.หากเป็นไปได้ผู้ดูแลระบบควรทำการบล็อกการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้งานในเครือข่ายกับหน้าเว็บไซต์ปลอมที่พบ

4.แจ้งเตือนและเผยแพร่แนวทางป้องกันนี้ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อลดโอกาสเสี่ยงจากการตกเป็นเหยื่อของการหลอกลวง


หากผู้ใช้งานตกเป็นเหยื่อเว็บปลอมหรือได้รับผลกระทบจากภัยคุกคาม และต้องการคำแนะนำหรือความช่วยเหลือ สามารถแจ้งไทยเซิร์ตผ่านอีเมล report@thaicert.or.th หรือหมายเลขโทรศัพท์ (+66) 2123 1212







Fair Usage Policy ( FUP ) คืออะไร มีไว้ทำไม?

[แก้]

กลับมาเป็นประเด็นอีกครั้ง หลังจากที่ กสทช สั่งค่ายมือถือ ห้ามใช้คำว่า unlimitted ในแพ็คเกจอินเทอร์เน็ต 3G 4G บนมือถือ เพื่อไม่ให้ผู้ใช้บริการเข้าใจผิดว่าจะได้ใช้เน็ตไม่อั้นทั้งปริมาณการใช้งานและความเร็วเน็ตแรงตลอดเหมือนอินเทอร์เน็ตตามบ้าน เพราะความจริงแล้ว แพ็คเกจอินเตอร์เน็ตบนมือถืออย่าง 3G 4G จะมี Fair Usage Policy (FUP) หรือการจำกัดความเร็วในการใช้งานเครือข่ายโทรศัพท์มือถือในการเชื่อมต่อเน็ต 3G 4G

ทำไมต้องมี Fair Usage Policy ( FUP )

เมื่อมีการให้บริการ 3G แล้ว ค่ายผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ จึงได้กำหนด Fair Usage Policy เพื่อกำหนดเงื่อนไขในการใช้งานดาต้าผ่านเครือข่าย 3G , 4G ให้สามารถใช้งานเน็ตบนมือถือได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และใช้งานอย่างเหมาะสม หากใช้งานครบตามปริมาณการใช้งานที่กำหนดแล้ว จะได้รับ SMS เตือนว่าคุณใช้แพคเก็จความเร็วสูงสุดครบแล้ว ทั้งนี้ก็ยังสามารถใช้งาน 3G ได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม แต่จะถูกปรับลดความเร็วลง ทำให้เราไม่ได้ใช้ความเร็วสูงสุดตามที่เครือข่ายและตัวเครื่องรองรับ จนกว่าจะครบรอบบิลตามแพคเก็จ หรือซื้อแพคเก็จเน็ตเสริมเพิ่มเติม
Fair Usage Policy เป็นนโยบายสากลที่ผู้ให้บริการมือถือทุกรายใช้กันทั่วโลก เพื่อรักษามาตรฐานการให้บริการเน็ตบนมือถือ 3G 4G
ที่ค่ายมือถือทำเช่นนี้ เพื่อป้องกันการใช้เน็ตบนมือถือมาใช้งานแบบผิดวัตถุประสงค์เช่น โหลด Bittorrent โหลดหนัง หรือส่งคลิปวีดีโอขนาดใหญ่ ซึ่งมีการรับส่งข้อมูลในปริมาณมาก หากหลายท่านใช้งานในลักษณะนี้พร้อมๆกัน จะส่งผลกระทบต่อผู้ให้บริการ และผู้ใช้งานดาต้าบนมือถือทุกคนด้วย เพราะถูกแย่งแบนด์วิธทำให้คนอื่นได้รับความเร็วลดลง

แล้วจะทำอย่างไรให้ใช้เน็ตแรงๆแบบต่อเนื่องโดยไม่ติด FUP และไม่ต้องจ่ายเงินเพิ่ม


•เลือกแพคเก็จปริมาณการใช้งานที่เหมาะสมกับเราแบบกรณีต้องการใช้เน็ตบนมือถือจริงๆ เช่น ไว้แชต line , เช็คอีเมล , facebook , หรือเล่นเกมบนมือถือ
•หากต้องการใช้มือถือในการชมภาพยนตร์ฝรั่ง การ์ตูน ดูทีวี Streaming ตลอดจนโหลดแอพเกมขนาดใหญ่ หรืออัพเฟิร์มแวร์ละก็ ให้เชื่อมต่อผ่านทาง Wi-Fi ที่บ้าน ที่ทำงาน หรือสมัครแพคเกจ 3G 4G ที่พ่วงมาด้วยแพคเกจใช้งาน Wi-Fi ไม่จำกัด ของเครือข่ายนั้นๆได้ เพื่อสลับมาใช้งาน Wi-Fi ด้านนอกบ้าน เช่นห้างสรรพสินค้า ป้ายรถเมล์ หรือตรง BTS และเลี่ยงการใช้งานเน็ตบนมือถือในปริมาณมาก

แต่เรื่องการคิดชื่อโปรใหม่แทนคำว่า Internet หรือ ใช้ได้ไม่จำกัด นั้น ต้องจับตาที่ผู้ให้บริการเครือข่ายมือถือทั้ง 5 รายว่า จะใช้ชื่อโปรใหม่แทนชื่อเดิมนี้ว่าอะไร ?







Microsoft ใจป้ำ!! แจกพื้นที่ Onedrive ฟรีอีก 100 GB ทั่วโลก นาน 2 ปี

[แก้]



จากที่ก่อนหน้านี้ Microsoft แจกพื้นที่เก็บข้อมูลบน Cloud ของ Microsoft อย่าง OneDrive ซึ่งปกติให้พื้นที่ฟรี 15 Gb แต่ Microsoft ประกาศแจกแบบใจป้ำจัดหนักถึง 100 GB ให้ผู้ใช้ OneDrive ฟรี นาน 2 ปี เมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2558 ที่ผ่านมา ในตอนแรกแจกเฉพาะในสหรัฐอเมริกาเท่านั้น แต่ล่าสุด Microsoft เอาใจตามคำเรียกร้องจากผู้ใช้ทั่วโลก ได้เพิ่ม 100 GB ทั่วโลกไปเลย เพียงเข้าไปลงทะเบียนบัญชี Bing Rewards



ง่ายๆเพียงแค่ คลิกที่นี่เพื่อรับพื้นที่ Onedrive 100 GB ฟรี แล้วทำการเข้าสู่ระบบด้วยบัญชี Microsoft (เช่น Hotmail , outlook , msn , windowslive ) แค่นี้คุณก็จะได้พื้นที่ Onedrive เพิ่มถึง 100 GB ให้คุณใช้ฟรีนาน 2 ปี แต่รีบคลิกหน่อยเพราะคาดว่าข้อเสนอนี้ระยะเวลาจำกัด

ข้อมูลจาก WmPoweruser



LAN Technology

[แก้]

แบบบัส ( BUS Topology )

[แก้]

เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนสายสัญญาณหลักเส้นเดียว ที่เรียกว่า BUS ทีปลายทั้งสองด้านปิดด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Teminator ไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ


คอมพิวเตอร์เครื่องใดหยุดทำงาน ก็ไม่มีผลกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย


ข้อดี ของการเชื่อแบบบัส คือ


- สามารถติดตั้งได้ง่าย เนื่องจากเป็นโครงสร้างเครือข่ายที่ไม่ซับซ้อน


- การเดินสายเพื่อต่อใช้งาน สามารถทำได้ง่าย


- ประหยัดค่าใช้จ่าย กล่าวคือ ใช้สายส่งข้อมูลน้อยกว่า เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับสายหลักได้ทันที


- ง่ายต่อการเพิ่มสถานีใหม่เข้าไปในระบบ โดยสถานีนี้สามารถใช้สายส่งข้อมูลที่มีอยู่แล้วได้


ข้อเสียของการเชื่อแบบบัส คือ


- ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดไปจากสถานีใดสถานีหนึ่ง ก็จะทำให้ระบบเครือข่ายนี้หยุดการทำงานลงทันที


- ถ้าระบบเกิดข้อผิดพลาดจะหาข้อผิดพกลาดได้ยาก โดยเฉพาะถ้าเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่



แบบดาว ( Star topology )

[แก้]



•การเชื่อมต่อแบบ Star คือการนำเอาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆไปเชื่อมต่อกับ “อุปกรณ์รวมสัญญาณ” ที่เป็น “ศูนย์กลาง” (Central Node) ของเครือข่ายโดยผ่านสายสัญญาณชนิดที่เหมาะสม
•การเชื่อมต่อระหว่าง Central Node กับอุปกรณ์ต่างๆที่ต้องการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายจะเป็นแบบ Point-to-Point
•ถึงแม้ว่าโครงสร้างทางกายภายจะเป็นแบบ Star (Physical Star) แต่การทำงานจะเป็นแบบ Bus (Logical Bus)
•อุปกรณ์ที่เป็น Central Node จะทำหน้าที่เหมือนกับเป็น Frame Switch
HUB
Switching


ข้อดีของการเชื่อมแบบดาว
•มีความง่ายในการเดินสายสัญญาณ ถึงแม้จะใช้สายสัญญาณหลายเส้นก็ตาม มีความเหมาะกับกรณีที่อุปกรณ์วางอยู่อย่างกระจัดกระจาย

•สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดในระบบเครือข่ายได้ง่าย เพราะพิจารณาเฉพาะจุดที่ไม่สามารถใช้การได้ก็จะพบจุดบกพร่อง

•เสียค่าใช้จ่ายต่ำกว่าแบบ Ring แต่แพงกว่า Bus ไม่มากนัก -> นิยม

ข้อเสียของการเชื่อมแบบดาว
•ต้องใช้สายสัญญาณจำนวนมาก เพราะแต่ละสถานีมีสายสัญญาณของตนเองเชื่อมต่อกับศูนย์กลางจึงเหมาะสมกับเครือข่ายระยะใกล้มาก กว่าการเชื่อมต่อเครือข่ายระยะไกล


•การขยายระบบก็ยุ่งยากเพราะต้องเชื่อมต่อสายจากศูนย์กลางออกมา ถ้าศูนย์กลางเสียหายระบบจะใช้การไม่ได้


แบบวงแหวน ( Ring Topology )

[แก้]

ลักษณะคล้ายกับ Bus เพียงแต่เป็นการนำเอาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อแบบ Point-to-Point ต่อกันไปเรื่อยๆจนกลายเป็นวง
ข้อดีของการเชื่อมแบบแหวน


•ใช้สายสัญญาณน้อยกว่าแบบดาว เหมาะกับการเชื่อมต่อด้วยสายสัญญาณใยแก้วนำแสง เพราะส่งข้อมูลทางเดียวกันด้วยความเร็วสูง
•ความทนทานต่อการเสียหายมีน้อย ถ้าหากเครือข่ายมีเพียง 1 Ring


ข้อเสียของการเชื่อมแบบแหวน
•อุปกรณ์มีราคาแพงมากเมื่อเทียบกับแบบ Bus
•มีความยุ่งยากในการเดินสายสัญญาณ


แบบเมชหรือแบบตาข่าย (Mesh Topology)

[แก้]

รูปแบบเครือข่ายแบบนี้ ปกติใช้ในระบบเครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network) ลักษณะการสื่อสารจะมีการต่อสายหรือการเดินของข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือโหนดไปยังโหนดอื่น ๆ ทุก ๆ ตัว


ทำให้มีทางเดินข้อมูลหลายเส้นและปลอดภัยจากเหตุการณ์ที่จะเกิดจากการล้มเหลวของระบบ แต่ระบบนี้จะมีค่าใช้จ่ายมากกว่าระบบอื่น ๆ เพราะต้องใช้สายสื่อสารเป็นจำนวนมาก


ข้อดีของการเชื่อมแบบเมชหรือแบบตาข่าย


• ในกรณีสายเคเบิ้ลบางสายชำรุด เครือข่ายทั้งหมดยังสมารถใช้ได้ ทำให้ระบบมีเสถียรภาพสูง นิยมใช้กับเครือข่ายที่ต้องการเสถียรภาพสูง และเครือข่ายที่มีความสำคัญ


WAN Technology

[แก้]

Circuit switching

[แก้]

ความหมายของ Circuit switching

[แก้]


Circuit switching เทคนิคในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง เมื่อมีการเชื่อมต่อกันแล้วจะติดต่อกันได้ตลอดเวลา ผู้อื่นจะแทรกเข้ามาไม่ได้เลย จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะปลดวงจรออก ตัวอย่างง่าย ๆ


เช่นการติดต่อทางสายโทรศัพท์ เมื่อเริ่มพูดกันได้แล้ว คนอื่นจะต่อสายแทรกเข้ามาไม่ได้ จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะวางหูลง (ปลดวงจร)


ข้อเสียของการเชื่อมแบบเมชหรือแบบตาข่าย
• สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และสายเคเบิ้ลมากกว่าการต่อแบบอื่น ๆ


•ยากต่อการติดตั้ง เดินสาย เคลื่อนย้ายปรับเปลี่ยนและบำรุงรักษาระบบเครือข่าย

หลักการทำงาน Circuit switching

[แก้]


1) เมื่อสถานีA ต้องการส่งข้อมูลให้กับ สถานีB จะต้องมีการสร้างเส้นทางเสียก่อน โดยที่ฝั่งที่รับข้อมูลจะต้องตอบว่าพร้อมรับข่าวสาร (Establishment/ Connection)


2) เมื่อสร้างเส้นทางการส่งข้อมูลเรียบร้อย ตลอดเวลาของการสื่อสารจะใช้เส้นทางเดิมตลอดและไม่มีบุคคลอื่นมาใช้เส้นทาง


3) มีอัตราความเร็วในการส่งเท่ากันทั้งด้านรับและด้านส่ง


4) มีการทำ Error Control และ Flow Control ทุกๆ ชุมสาย

ข้อดี Circuit switching

[แก้]


- ปริมาณในการส่งข้อมูลได้ อัตราการส่งข้อมูล ความเร็วในการส่งข้อมูลจะคงที่ อัตราเดิม


- Delay ที่เกิดขึ้นจะเรียกว่า propagation delay คือเวลาที่ข้อมูลวิ่งอยู่ในสายสัญญาณ – เร็วเท่าแสง


- Delay ที่ node คือเวลาที่ข้อมูลวิ่งระหว่าง node อาจเป็น delay ที่เกิดเนื่องจากการประมวลผลอะไรบางอย่าง ถือว่าน้อยมากจนถือว่าไม่สำคัญ เพราะว่ามันแทบจะไม่เกิด


5) ในขณะทำการส่งข้อมูล ข้อมูลจะถูกส่งด้วยความเร็วคงที่ และไม่มีการหน่วงเวลา(Delay)


6) เมื่อส่งข้อมูลเสร็จจะยกเลิกเส้นทางที่ได้เชื่อมต่อขึ้นมาเพื่อให้เครื่องอื่นได้ใช้เส้นทางได้

ตัวอย่างระบบ Circuit switching

[แก้]


-โมเด็มและระบบโทรศัพท์ (Modem and Telephone System)\


- สายคู่เช่า (Leased Line)


- ISDN (Integrated Services Digital Network)


- DSL (Digital Subscriber line)


- เคเบิลโมเด็ม (Cable Modem)

ลักษณะการเชื่อมต่อ

[แก้]


เชื่อมต่อทางกายภาพของวงจรระหว่างจุดต่อจุด (point-to-point)

ข้อดี Circuit switching

[แก้]


- ปริมาณในการส่งข้อมูลได้ อัตราการส่งข้อมูล ความเร็วในการส่งข้อมูลจะคงที่ อัตราเดิม


- Delay ที่เกิดขึ้นจะเรียกว่า propagation delay คือเวลาที่ข้อมูลวิ่งอยู่ในสายสัญญาณ – เร็วเท่าแสง


- Delay ที่ node คือเวลาที่ข้อมูลวิ่งระหว่าง node อาจเป็น delay ที่เกิดเนื่องจากการประมวลผลอะไรบางอย่าง ถือว่าน้อยมากจนถือว่าไม่สำคัญ เพราะว่ามันแทบจะไม่เกิด

ข้อเสีย Circuit switching

[แก้]


-หากคอมพิวเตอร์หรือเทอร์มินัลติดต่อกับศูนย์ข้อมูล ในการเรียกค้นข้อมูลเป็นระยะจะทำให้มีช่วงเวลาที่สายสัญญาณ ไม่มีการใช้และผู้อื่นก็ใช้ไม่ได้ ธรรมชาติของการใช้งานไม่ได้ออกแบบ


มาให้ใช้งานพร้อมกันอย่างเต็มประสิทธิภาพ เช่น ระบบโทรศัพท์ 100 เลขหมาย จะสามารถใช้งานพร้อมๆกันได้ไม่ถึง 50%


- การเชื่อมโยงอุปกรณ์ระหว่างสถานีต้นทางกับปลายทางต้องตกลงและใช้มาตรฐานเดียวกัน


- การติดต่อสื่อสารข้อมูลนี้ผู้ใช้จะต้องมีระบบซอฟต์แวร์ในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเอง เพราะชุมสายจะไม่มีระบบตรวจสอบข้อมูลในชุมสายทำหน้าที่เพียงการสวิตช์วงจรให้เท่านั้น


Circuit Switching นั้นออกแบบมาเพื่อส่งข้อมูลทางเสียง


- อัตราการส่งข้อมูลจะเป็นตัวจำกัดอุปกรณ์ที่ต่อพ่วงเนื่องจากถูกออกแบบมาเพื่อส่งข้อมูลทางเสียงในอัตราที่มนุษย์สามารถรับรู้ ได้


- มีขีดจำกัดแน่นอนอยู่แล้วที่ระบบ Hardware


- ยากและลงทุนสูงในการ Upgrade backbone


Packet switching

[แก้]

ความหมายของ Packet switching

[แก้]


เทคนิคในการแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่ม (Packet) แต่ละกลุ่มจะมีความยาวเท่ากัน (ปกติ 100บิต)ข้อมูลจะหาทิศทางเดินไปได้เอง โดยที่สายหนึ่ง ๆ จะสามารถใช้กันได้หลายคน เมื่อถึงที่ปลายทางข้อมูลก็จะกลับ ไปรวมกันเอง

หลักการทำงาน Packet switching

[แก้]


1) เมื่อ สถานี A ต้องการส่งข้อมูลให้กับสถานีB จะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็น Packet ย่อยก่อนจะถูก ส่งออกไป


2) ส่งข้อมูลโดยใช้ชุมสาย PSE (Packet switching exchange) ควบคุมการรับส่ง


3) ทำ Error control หรือ Flow Control ที่ PSE


4) ด้านรับและด้านส่งมีอัตราความเร็วที่ไม่เท่ากันได้


5) ใช้เทคนิค Store - and - Forward ในการส่งข้อมูล ผ่าน PSE

ตัวอย่างระบบ Packet switching

[แก้]


เป็นเทคโนโลยีพื้นฐานที่ใช้ในการ ส่งข้อมูลภายในสำหรับระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในปัจจุบัน ระบบที่เป็น Package switch เช่น Frame relay เป็นระบบโทรศัพท์แบบดิจิตอล และ ATM


เป็นระบบการส่งข้อมูลประเภท ภาพและเสียง (multimedia)

ลักษณะการเชื่อมต่อ Packet switching

[แก้]


ส่งแต่ละแพกเกตด้วยเส้นทางต่างๆที่เชื่อมโยงกันเป็นตาข่าย และทำการรวมแต่ละแพคเกตกลับคืนเมื่อถึงจุดหมายแล้ว

ข้อดี Packet switching

[แก้]


- Flexibility โครงข่ายดังกล่าวนี้ทำให้ใช้งานพร้อมกันหลาย ๆ ระบบได้ โดยงานประยุกต์แต่ละระบบไม่ยุ่งเกี่ยวกัน แต่ใช้ผ่านชุมสายเดียวกัน


- Robustness มีความแข็งแกร่ง ถ้าเส้นทางใดเส้นทางหนึ่งเสียหายก็สามารถใช้เส้นทางอื่นได้ อุปกรณ์ต้นทางกับปลายทาง สามารถส่งด้วยความเร็วที่ต่างกันได้เพราะชุมสายจะเป็นผู้แปลงสัญญาณ ให้ความเร็วเข้ากันได้


- Responsiveness มีการรับประกันความถูกต้องของข้อมูลที่รับส่งทำให้ระบบมีความเชื่อถือสูง สามารถใช้ในระบบที่โต้ตอบด้วยความเร็วได้ ตัว IMP สามารถที่จะทำงานเพิ่มเติมบางอย่างได้


เช่น การตรวจสอบความ ผิดพลาดก่อนที่จะส่งต่อไป หรืออาจทำการเปลี่ยนรหัสก่อนก็ได้

ข้อเสีย Packet switching

[แก้]


-บางครั้งถ้ามีปริมาณPacket จำนวนมากเข้ามาพร้อมกันจะทำให้ IMPทำงานไม่ทัน อาจทำให้มีบางPacket สูญหายไปได้ - มี delay เกิดขึ้นในระหว่างที่ส่งข้อมูล


= ความยาวของ package / ขนาดของ overhead datarate ขนาดของ package มีขนาดไม่แน่นอน


-Package แต่ละ package อาจวิ่งไปคนละเส้นทางได้ แต่ละเส้นทางจะมี delay ไม่เท่ากัน ซึ่งทำให้เกิดปัญหา package ที่ส่งมาที่หลังมาถึงก่อน ฝ่ายรับต้องมีวิธีจัดการกับ package ที่ยุ่งยากขึ้น


-ถ้ามี delay มากจะเกิดความแออัดในเครือข่าย


- มี overhead เกิดขึ้นในการส่งข้อมูล โดย overhead ที่เกิดขึ้นคือที่อยู่ของปลายทาง, sequence ซึ่งทำให้ส่งข้อมูลได้น้อย ทำให้ประสิทธิภาพในการส่งลดลง


OSI model + TCP/ IP mode

[แก้]
_ OSI Model _ _________ TCP/IP __________
7 Application Application FTP,Telnet,HTTP,
SMTP,SNMP,DNS,etc
6 Presentation Application FTP,Telnet,HTTP,
SMTP,SNMP,DNS,etc
5 Session Application
Host-to-Host
TCP UDP
4 Transport Host-to-Host TCP UDP
3 Network Internet ICMP,IGMP
Ip
2 Data link Network Access Not Specified
1 Physical Network Access Not Specified

หน้าที่การทำงานของชั้นสื่อสาร

[แก้]
ลำดับชั้น ชื่อชั้นสื่อสาร หน้าที่ของชั้นสื่อสาร
1. Physical เคลื่อนย้ายข้อมูลระดับบิตจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป
2. Data link เคลื่อนย้ายเฟรมจากโหนดหนึ่งไปยังโหนดถัดไป
3. Network ส่งมอบแพ็กเก็ตจากโฮสต์หนึ่งไปยังโฮสต์ปลายทาง
4. Transport ส่งมอบข่างสารจากโปรเซสต้นทางไปยังโปรเซสปลายทาง
5. Session ควบคุมการสื่อสารและการซิงโครไนซ์
6. Presentation แปลงข้อมูล เข้ารหัสข้อมูล และบีบอัดข้อมูล
7. Application จัดการงานบริการให้แก่ผู้ใช้