ผู้ใช้:Naimaprowz/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

โครงสร้างตำบลสามควายเผือก[แก้]

สภาพทางสังคม[แก้]

การสังคมสังเคราะห์ [แก้]

องค์การบริหารส่วนตำบลสามควายเผือกได้ดำเนินการด้านสงคมสังเคราะห์ ดังนี้

-ดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ  และผู้ป่วยเอดส์ 

-รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด

-ประสานการทำบัตรผู้พิการ

-ตั้งโครงการช่วยเหลือผู้ยากจน ยากไร้  รายได้น้อย และผู้ด้อยโอกาสไร้ที่พึ่ง     

การศึกษา [แก้]

-ตำบลสามควายเผือกมีโรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 2 แห่ง ได้แก่

โรงเรียนวัดสามควายเผือก ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔

โรงเรียนบ้านรางมะเดื่อ ตั้งอยู่หมู่ที่ ๖

-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน ๑ แห่ง ได้แก่

-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลสามควายเผือก เริ่มก่อตั้งในปีการศึกษา ๒๕๔๔ ตั้งอยู่บริเวณหน้าโรงเรียนวัดสามควายเผือก

-ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน ๑ แห่ง ได้แก่ ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ ๓  บ้านสามควายเผือก                  

-ศูนย์การเรียนชุมชนตำบลสามควายเผือก จำนวน ๑  แห่ง  ได้แก่   หอสมุดตำบลสามควายเผือก

กลุ่มกิจกรรมทางสังคม[แก้]

    ตำบลสามควายเผือกมีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ ผลิตภัณฑ์ชุมชน และOTOP จำนวน  12 กลุ่ม  ได้แก่

1) กลุ่มน้องสตางค์เครื่องนอน ผลิตภัณฑ์เครื่องนอน ประเภทของใช้ กลุ่ม D  หมู่ที่ 7

2) โรงงานปิยะวัฒน์กุนเชียง ผลิตภัณฑ์กุนเชียงปลา ประเภทอาหาร กลุ่ม C  หมู่ที่ 2

3) โรงงานปิยะวัฒน์กุนเชียง ผลิตภัณฑ์กุนเชียงหมูอย่างดี ประเภทอาหาร กลุ่ม C  หมู่ที่ 2

4) โรงงานปิยะวัฒน์กุนเชียง ผลิตภัณฑ์กุนเชียงหมูหยอง ประเภทอาหาร กลุ่ม C  หมู่ที่ 2

5) กลุ่มผักปลอดสารพิษบ้านกกโก ผลิตภัณฑ์ผักคะน้า ประเภทอาหาร กลุ่ม C  หมู่ที่ 8

6) กลุ่มอินเทรนด์ผ้าไทย ผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าสำเร็จรูป ประเภทผ้าและเครื่องแต่งกาย  หมู่ที่ 4

7) นางวรรณิภา กล้าหาญ ผลิตภัณฑ์เครื่องจักสาน ประเภทของใช้ กลุ่ม D  หมู่ที่ 5

8) เจ้ไหม เป็ดพะโล้ ผลิตภัณฑ์เป็ดพะโล้ ประเภทอาหาร กลุ่ม D  หมู่ที่ 1

9) เจ้ไหม เป็ดพะโล้ ผลิตภัณฑ์เป็ดย่าง ประเภทอาหาร กลุ่ม D  หมู่ที่ 1

10) สมคิดทำศาล ผลิตภัณฑ์ศาลพระภูมิ ประเภทของใช้ กลุ่ม D  หมู่ที่ 3

11) กลุ่มสตรี หมู่ที่ 4 ตำบลสามควายเผือก ผลิตภัณฑ์สมุนไพรแปรรูป หมู่ที่ 4

12) กลุ่มดอกไม้จันทน์บ้านสามควายเผือก ผลิตภัณฑ์ดอกไม้จันทน์ ประเภทของใช้ กลุ่ม D หมู่ที่ 3

การสาธารณสุข[แก้]

ตำบลสามควายเผือก มีโรงพยาบาล จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

ตำบลสามควายเผือก ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 และมีศูนย์กู้ชีพ จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์กู้ชีพองค์การบริหารส่วนตำบลสามควายเผือก

การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน[แก้]

ตำบลสามควายเผือก มีสถานีตำรวจ จำนวน 1  แห่ง ได้แก่  สถานีตำรวจภูธรสามควายเผือก

ตั้งอยู่ หมู่ที่ 4 และมีศูนย์ อปพร.  จำนวน 1  แห่ง ได้แก่ ศูนย์ อปพร.องค์การบริหารส่วนตำบลสามควายเผือก

ระบบบริการพื้นฐาน[แก้]

เส้นทางคมนาคมภายในตำบล    [แก้]

ชนิดผิวจราจร ปี 2558 ปี 2559 หมายเหตุ
สาย ก.ม. สาย   ก.ม.
1.  ถนนลูกรัง/หินคลุก 26 11+093 24 10+148
2. ถนนลาดยาง 14 12+057 15 12+777
3. ถนนคอนกรีต 31 25+555 32 25+780
รวม 45 37+612 71 47+1,705

การไฟฟ้า[แก้]

ประชาชนในตำบลสามควายเผือกมีไฟฟ้าใช้ทั้งหมด  8 หมู่บ้าน

การโทรคมนาคม[แก้]

ตู้โทรศัพท์สาธารณะ  จำนวน  4  แห่ง

สภาพทางเศรษฐกิจ[แก้]

    ด้านอาชีพ [แก้]

ประชาชนในเขตพื้นที่ของตำบลสามควายเผือก มีอาชีพหลัก เรียงตามลำดับดังนี้

-การเกษตรกรรม

-การเลี้ยงสัตว์

-รับจ้างทั่วไป

-อื่นๆ  เช่น  รับราชการ , ประกอบธุรกิจส่วนตัว

สภาพขยะ[แก้]

       องค์การบริหารส่วนตำบลสามควายเผือกได้จัดหาถังขยะตั้งเป็นจุดตามบ้านเพื่อความเป็นสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย โดยคิดค่าธรรมเนียมการจัดเก็บขยะบ้านละ ๓๐ บาทต่อเดือน และมีบริการเก็บขยะทุกวันตามบ้านแล้วนำไปทิ้งกับหน่วยงานที่ให้บริการในด้านการกำจัดขยะ 

เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น[แก้]

ข้อมูลเพื่อจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)

ประเภทของการทำการเกษตร หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 8
พื้นที่ทั้งหมด 2,500 ไร่ 685 ไร่ 542 ไร่ 554 ไร่ 826 ไร่ 1,350 ไร่ 1,333 ไร่ 1,400 ไร่
1) ทำนาในเขตชลประทาน 17 ครัวเรือน 11 ครัวเรือน 2 ครัวเรือน 2 ครัวเรือน 3 ครัวเรือน 8 ครัวเรือน 19 ครัวเรือน 40 ครัวเรือน
    401.25 ไร่ 175.75 ไร่ 22.5 ไร่ 15.7 ไร่ 72.25 ไร่ 187 ไร่ 336.25 ไร่ 622.25 ไร่
   -ผลผลิตเฉลี่ย 850 กก/ไร่ 850 กก/ไร่ 850 กก./ไร่ 850 กก./ไร่ 850 กก./ไร่ 850 กก./ไร่ 850 กก./ไร่ 850 กก./ไร่
2) ทำนานอกเขตชลประทาน - - - - - - - -
3) ทำสวน (ปลูกกุหลาบ) - - - - - 1 ครัวเรือน/2ไร่ - -
4) ทำสวน (ปลูกผัก) 38 ครัวเรือน 35 ครัวเรือน - - 50 ครัวเรือน 19 ครัวเรือน 48 ครัวเรือน 70 ครัวเรือน
44 ไร่ - - - - 23 ไร่ 50 ไร่ 300 ไร่
   -ผลผลิตเฉลี่ย 3,000 กก./ไร่ 3,000 กก/ไร่ - - 3,000 กก/ไร่ 3,000 กก/ไร่ 3,000 กก/ไร่ 3,000 กก/ไร่


ประเภทของการทำการเกษตร หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 6 หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 8
พื้นที่ทั้งหมด 2,500 ไร่ 685 ไร่ 542 ไร่ 554 ไร่ 826 ไร่ 1,350 ไร่ 1,333 ไร่ 1,400 ไร่
1) ทำนาในเขตชลประทาน 17 ครัวเรือน 11 ครัวเรือน 2 ครัวเรือน 2 ครัวเรือน 3 ครัวเรือน 8 ครัวเรือน 19 ครัวเรือน 40 ครัวเรือน
  401.25 ไร่ 175.75 ไร่ 22.5 ไร่ 15.7 ไร่ 72.25 ไร่ 187 ไร่ 336.25 ไร่ 622.25 ไร่
   -ผลผลิตเฉลี่ย 850 กก/ไร่ 850 กก/ไร่ 850 กก./ไร่ 850 กก./ไร่ 850 กก./ไร่ 850 กก./ไร่ 850 กก./ไร่ 850 กก./ไร่
2) ทำนานอกเขตชลประทาน - - - - - - - -
3) ทำสวน (ปลูกกุหลาบ) - - - - - 1 ครัวเรือน/2ไร่ - -
4) ทำสวน (ปลูกผัก) 38 ครัวเรือน 35 ครัวเรือน - - 50 ครัวเรือน 19 ครัวเรือน 48 ครัวเรือน 70 ครัวเรือน
44 ไร่ - - - - 23 ไร่ 50 ไร่ 300 ไร่
   -ผลผลิตเฉลี่ย 3,000 กก./ไร่ 3,000   กก/ไร่ - - 3,000 กก/ไร่ 3,000 กก/ไร่ 3,000 กก/ไร่ 3,000 กก/ไร่
5) ทำสวน (ผลไม้) 4 ครัวเรือน 5 ครัวเรือน - - 7 ครัวเรือน 3 ครัวเรือน 0 6 ครัวเรือน
20 ไร่ 18 ไร่ - - 22 ไร่ 16 ไร่ 0 23 ไร่
6) ทำไร่ - - - - - - - -
    -ไร่อ้อย - - - - - - - -
    -ไร่ข้าวโพด - - - - - - - -
    -ไร่มันสำปะหลัง - - - - - - - -
    -อื่นๆ ระบุ....... - - - - - - - -
7) แหล่งน้ำทางการเกษตร
   7.1 แม่น้ำ - - - - - - - -
   7.2 ห้วย/ลำธาร - - - - - - - -
   7.3 คลอง 1 2 2 2 2 2 2 2
   7.4 หนองน้ำ/บึง/สระ - - - - - 1 - -
   7.3 คลองชลประทาน - - 1 1 1 3 1 1
8) ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกินน้ำใช้ หรือน้ำอุปโภค บริโภค
   8.1 บ่อน้ำบาดาลสาธารณะ มีแต่ไม่เพียงพอ มีแต่ไม่เพียงพอ มีแต่ไม่เพียงพอ มีแต่ไม่เพียงพอ มีแต่ไม่เพียงพอ มีแต่ไม่เพียงพอ มีแต่ไม่เพียงพอ มีแต่ไม่เพียงพอ
   8.2 ประปาหมู่บ้าน มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง
   8.3 ระบบประปาภูมิภาค มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง มีเพียงพอทั่วถึง

ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม [แก้]

สถาบันและองค์กรศาสนา [แก้]

ประกอบด้วย

-วัด จำนวน  1  แห่ง  ได้แก่ วัดสามกระบือเผือก  ตั้งอยู่หมู่ที่  4

-ศาลเจ้า จำนวน   4   แห่ง  ได้แก่

ศาลเจ้าพ่อเขาสะพายแล้ง       ตั้งอยู่ที่หมู่  2

ศาลเจ้าพ่อเจ็ดศาล        ตั้งอยู่ที่หมู่  3

ศาลเจ้าแม่เจ้าฟ้า           ตั้งอยู่ที่หมู่  5

ศาลเจ้าฮู่โจ้ว        ตั้งอยู่ที่หมู่  6

ประเพณีและงานประจำปี[แก้]

-  ประเพณีวันขึ้นปีใหม่                        ประมาณเดือน    มกราคม

-  ประเพณีวันสงกรานต์                       ประมาณเดือน    เมษายน

-  ประเพณีวันเข้าพรรษา  ออกพรรษา   ประมาณเดือน    กรกฎาคม - ตุลาคม   

-  ประเพณีลอยกระทง                 ประมาณเดือน    พฤศจิกายน

ทรัพยากรธรรมชาติ[แก้]

แหล่งน้ำธรรมชาติ[แก้]

-คลอง  10  ขวา 5 ซ้าย ( คลองชลประทาน )  หมู่ 5 6 3 7

-คลอง 5  ซ้าย  ( คลองชลประทาน )  หมู่ 8

-คลอง ร. 1 ขวา  สัมปทวน

-คลอง  ร. 1 ซ้าย เจดีย์บูชา

และมี บึงน้ำและหนองน้ำอื่นๆ จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ หนองไผ่ล้อม ตั้งอยู่หมู่ที่ 6

แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น/การประปา[แก้]

ตำบลสามควายเผือกมีแหล่งน้ำที่สร้างขึ้นและจำนวนผู้ขอใช้บริการน้ำประปา ดังนี้

1. บ่อบาดาล                      41   แห่ง

2. ถังเก็บน้ำ                         -     แห่ง

3. หอถังประปา                  37    แห่ง