ผู้ใช้:Husna~thwiki/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


กระบือปลัก (Swamp buffalo) [แก้]

Scientific classification[แก้]

กระบือปลัก
กระบือปลัก
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Artiodactyla
วงศ์: Bovidae
สกุล: Bubalus
สปีชีส์: B.  bubalis
ชื่อทวินาม
Bubalus bubalis
(Linnaeus , 1758)



' บทนำ '[แก้]

กระบือปลัก ( Swamp buffalo) จัดอยู่ในไฟลัม สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrata) ชั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยแม่น้ำนม (Mammalia) มีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Bubalus bubalis เช่นเดียว กับกระบือแม่น้ำ จากการศึกษาทางด้านชีวภาพโมเลกุล พบว่า กระบือปลักมีจำนวนโครโมโซม 48 อัน 24 คู่ ส่วนกระบือแม่น้ำจะมีจำนวนโครโมโซม 50 อัน 25 คู่ แต่กระบือทั้งสองชนิดนี้ผสมข้ามพันธุ์ได้ กระบือปลักชนิดนี้จะเลี้ยงกันในประเทศต่างๆ ทางตะวันออก ซึ่งได้แก่ ประเทศไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม พม่า กัมพูชา และลาวเป็นต้น แต่เดิมในสมัยก่อนที่ยังไม่มีการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม กระบือชนิดนี้จะเลี้ยงเพื่อใช้แรงงานในไร่นา เพื่อปลูกข้าวและทำไร่ และเมื่อกระบืออายุมากขึ้นก็จะส่งเข้าโรงฆ่าเพื่อใช้เนื้อเป็นอาหาร สำหรับลักษณะทั่วไปของกระบือปลักไทยส่วนใหญ่จะเป็นที่รู้จักกันอยู่แล้ว กระบือชนิดนี้ จะชอบนอนแช่ปลัก มีรูปร่างล่ำสัน ผิวหนังจะมีสีเทาเข้มถึงสี ดำ บางครั้งอาจมีสีขาวเผือก มีขนเล็กน้อย ท้องใหญ่ หัวยาวแคบ เขามีลักษณะโค้งไปข้างหลัง หน้าสั้น หน้าผากแบบราบ ตานูนเด่นชัด ช่วงระหว่างรูจมูกทั้งสองข้างกว้าง คอยาว และมีลักษณะพิเศษคือ บริเวณใต้คอจะมีขนขาวเป็นรูปตัววี (chevlon) ซึ่งลักษณะพิเศษนี้จะไม่พบในกระบือแม่น้ำ มี หัวไหล่และอกนูนเห็นชัด กระบือปลักจะมีแม่น้ำหนักตัวมาก รูปร่างจะสั้น และหน้าท้องมีขนาดใหญ่ หน้าผากจะแบน ดวงตาที่โดดเด่นบนใบหน้า ในระยะสั้นและปาก กว้าง แตรของกระบือปลักเติบโตออกไปด้านนอกและด้านในโค้ง ครึ่งวงกลม เสียงร้องโหยหวนปลักกระบือเป็น ที่มาของชื่อ [1]


ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการของกระบือและญาติ[แก้]

กระบือเอเชีย มีลําดับ ความเป็นญาติที่ใกล้ชิด กบ วัว และกระบือป่าอัฟริกา แต่ ก็แยกจากกันโดยเด็ดขาด เนื่องจากผสมพันธุ์กันไม่ได้ (ไม่เกิดลูก) [2] การศึกษาระดับโมเลกุล ได้มุ่งเน้นไป mtDNA และmicrosatellites. ข้อสรุปที่ได้คือ ต้นกำเนิดขอกระบือปลักและกระบือแม่น้ำ มีความสัมพันธ์กับกระบือป่า ตามที่นักวิชาการได้เขียนไว้ กระบือแม่น้ำจะมีความโดดเด่นในประเทศอินเดียหลังจากที่ กระบือปลัก ปรากฏออกมาโดย Introgression ของกระบือแม่น้ำในประเทศจีนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คาดว่าจากเวลาที่แตกต่างกันของกระบือปลัก และกระบือแม่น้ำ ระหว่างการศึกษา: จาก 1.7 ล้านปีที่ผ่านมา (mtDNA cytochrome b, 1 ล้านปีที่ผ่านมา (mtDNA 28,000-87,000 ปีที่ผ่านมา (mtDNA D –loop,) และ 10,000-15,000 ปีที่ผ่านมาใช้วิธีทางชีวเคมี ปรากฏว่ากระบือพื้นเมืองของศรีลังกา กระบือปลักมีลักษณะทางสัณฐานวิทยา ที่น่าสนใจ แต่กระบือแม่น้ำจะมีจำนวนโครโมโซมและตำแหน่งของ microsatellite น่าสนใจ

ความหลากหลายทางพันธุกรรมในกระบือปลัก ในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมาประชากรกระบือปลักในประเทศไทยได้ลดลง ข้อมูลประชากรมีความจำเป็นเพื่อประเมินสถานะความเสี่ยงของประชากรกระบือ มีสามปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคือ:

(1) ขนาดของประชากรมีประสิทธิภาพน้อย ซึ่งขึ้นอยู่กับจำนวนของเพศชายและหญิงที่ใช้จริงสำหรับการผสมพันธุ์ (2) ในปัจจุบันและคาดการณ์แนวโน้มในอนาคตประชากรลดลงไป กับการสูญเสียความหลากหลายทางพันธุกรรม (3) การกระจายทางภูมิศาสตร์ของกระบือที่มีในประชากรมีความเสี่ยงสูงกว่าความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ [3]


พฤติกรรม[แก้]

กระบือ ใช้ปลักส่วนใหญ่ในช่วงเวลากลางวัน โดยเฉพาะช่วงเวลาที่มีความเข้มของรังสีจากดวงอาทิตย์สูง และพบว่ากระบือ กลุ่มที่ลงปลักใช้เวลาในการแทะเล็มในช่วงเวลากลางวันนานกว่า กระบือกลุ่มที่ไม่ได้ ลงปลัก จากผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า การลงปลักจะช่วยให้กระบือเกิดความเครียดจากความร้อนน้อยลง การแทะเล็มก็จะนานขึ้น วีดีโอแสดงพฤติกรรมของกระบือปลัก [2] กระบือ ถูกคัดเลือกโดยธรรมชาติ มาเป็นเวลายาวนาน ให้อยู่ได้ในสภาพแวดล้อม ที่มีข้อจำกัดด้านอาหาร และขาดแคลนในบางช่วงฤดู และมีโรค แมลงชุกชุม ทำให้เลี้ยงได้ดีในสภาพที่มีอาหารสัตว์คุณภาพต่ำเพราะมีพันธุกรรมที่มีคุณสมบัติเด่น


การปรับตัว[แก้]

การปรับตัวในภาวะอากาศร้อน[แก้]

กระบือเป็นสัตว์ที่มีสัญชาตญาณในการต่อสู้ป้องกันตัวสูงในภาวะที่มีภัยถึงตัว กระบือจะชอบนอนแช่ปลัก โดยเฉพาะช่วงที่มีอากาศร้อน ถ้าไม่มีปลักให้แช่ แต่มีแม่น้ำ กระบือมักสร้างปลักเอง โดยลงนอนเกลือกกลิ้งในบริเวณที่มีแม่น้ำแฉะ ๆ จนเกิดเป็นแอ่ง กระบือปรับตัวกับสภาพแวดล้อมได้ดี ถึงแม้กระบือมีต่อมเหงื่อน้อย ผิวหนังมีสีดำที่ดูดความร้อนได้ดี และผิวหนังหนาทำให้ระบายความร้อนช้า และการนอนปลักโคลนทำให้ ป้องกันแมลง เหลือมกัดในตอนกลางคืนได้[4]


การปรับตัวต่อฤดูแม่น้ำหลาก[แก้]

ในช่วงฤดูแม่น้ำหลาก ทุ่งหญ้าที่เป็นแหล่งหากินของกระบือต้องจมอยู่ใต้ผืนแม่น้ำเป็นเวลา 5 เดือนใน 1 ปี ส่งผลให้กระบือต้องปรับตัวด้วยการว่ายแม่น้ำเป็นระยะทางไกล เพื่อดำแม่น้ำลงไปกินหญ้าที่จมอยู่ใต้แม่น้ำ บางตัวดำได้นานจะมุดหัวลงแม่น้ำ เท้าหลังชี้ขึ้นฟ้า กินหญ้าแม่น้ำได้คราวละหลายนาที ส่วนลูกกระบือตัวเล็กจะดำลงไปทั้งตัว เป็นภาพที่ชาวทะเลน้อยเห็นชินตามาหลายชั่วอายุคน จนเรียกขานกระบือในทะเลน้อยว่า กระบือแม่น้ำ ตามลักษณะการหากิน[5]

การปรับตัวต่อการย่อยอาหาร[แก้]

กระบือมีความจุของกระเพาะมาก ทำให้เกิดการหมักอาหารที่ยาวนาน  กระบือมีจุลินทรีย์ ชนิด “เชื้อราและแบคทีเรีย” ที่ย่อยสลายได้ดี [6]

การปรับตัวทางด้านโครงสร้าง[แก้]

กระบือไถนาในที่ลุ่ม หรือ น้ำท่วมขังได้ดี เนื่องจากมีข้อเท้าและกีบเท้า ที่เคลื่อนไหวได้ดีในโคนตม กระบือกินอาหารหยาบได้ดี โดยเฉพาะผลพลอยได้ทางการเกษตร เช่น ต้นข้าวโพด ตอซัง ยอดอ้อย เป็นต้น เนื่องจาก พฤติกรรมการแทะเล็ม เพราะกระบือมีริมฝีปากกว้างแทะเล็มหญ้าสั้น ได้ง่าย ไม่เลือกอาหารทำให้มีพื้นที่แทะเล็มกว้าง ปริมาณอาหารที่กินได้จึงมาก กระบือแทะเล็มพืชใต้แม่น้ำได้ ทำให้ใช้ประโยชน์พืชอาหาร ในพื้นที่ที่น้ำท่วมขังได้ดี [7]


References[แก้]

  1. <http://www4.zetatalk.com/docs/Animal_Power/The_Water_Buffalo_1977.pdf>
  2. <http://www.dld.go.th/breeding/buffalo/images/stories/pdf/character_buff_nikorn.pdf>
  3. <http://www.vetscite.org/publish/articles/000096/index.html
  4. <http://pirun.ku.ac.th/~b521010050/%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%94.3.htm, คุณสมบัติเด่นกระบือปลัก>
  5. [1]
  6. http://pirun.ku.ac.th/~b521010050/%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%94.3.htm
  7. <http://pirun.ku.ac.th/~b521010050/%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%94.3.htm>