ผู้ใช้:BenzWorawut/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

PROFILE[แก้]

ข้อมูลส่วนตัว[แก้]

ชื่อ[แก้]

นายวรวุฒิ เจริญวัย [1]

ที่อยู่[แก้]

347/6 ซ.25 หมู่บ้านราชธานี ม.9 ต.หมื่นไวย อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000

การศึกษา[แก้]

ตำแหน่งด้านไอที[แก้]

โปรแกรมเมอร์

อื่นๆ[แก้]

บทความด้านไอที[แก้]


สิ่งดีๆ ที่คุณจะพบใน Windows 8[แก้]

1. การบูตเครื่องได้เร็วมาก เมื่อเทียบกับวินโดวส์อื่นๆ เพียงไม่กี่วินาทีคุณก็สามารถใช้งานวินโดวส์ได้แล้ว

2. อินเตอร์เฟสใหม่ที่แปลกตา หน้าแรกของการใช้งานคุณจะเจอ แอพพลิเคชันหรือโปรแกรมที่ใช้งานมารวมอยู่หน้าเดียวกันที่หน้า Start แบบ Modern Style สะดวกในการใช้งาน อาทิเช่น แอพพลิเคชันของอีเมล, รูปภาพ, ข่าว, ปฏิทิน, พยากรณ์อากาศและอื่น ๆ อีกมาก ทั้งนี้ยังแสดงเป็นแบบอัพเดทตลอดเวลา ซึ่งทำให้คุณทราบข่าวสารอยู่ตลอดเวลา

3. ระบบค้นหายอดเยี่ยม Windows 8 มีฟังก์ชันการค้นหาสิ่งต่าง ๆ โดยแบบเป็นหมวดหมู่ Application, Settings, File และในโซเชียลเน็ตเวิร์ก ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว โดยค้นหาผ่านหน้า Start ได้ทันที่เพียงแค่พิมพ์คำที่ต้องการค้นหาลงไปซึ่งก็ไม่จำเป็นต้องพิมพ์ทั้งคำ วินโดวส์จะทำการแสดงทุกอย่างที่ตรงกับคำค้นหาขึ้นมาทันที

4. เชื่อมต่อข้อมูลกันได้หมด ไม่ว่าคุณจะมีคอมพิวเตอร์, โน้ตบุ๊ก หรือแท็บเล็ต สักกี่เครื่อง คุณก็สามารถตั้งค่าต่างๆ ให้อุปกรณ์ดังกล่าวที่ใช้ Windows 8 เชื่อมต่อข้อมูลกัน โดยข้อมูลเกือบทั้งหมดจากทุกเครื่องจะเหมือนกันไม่ว่าเครื่องนั้นจะอยู่ที่จุดใดของโลกใบนี้ ขอเพียงให้มีอินเตอร์เน็ตใช้ ด้วยฟังก์ชั่น Sync ผ่านแอคเคาท์ของไมโครซอฟท์

5. แชร์ข้อมูล แชร์ (Share) ฟังก์ชันเหมาะสมมาก สำหรับคนที่ชอบโซเชียลเน็ตเวิร์ก ไมโครซอฟท์ออกแบบให้ Windows 8สามารถเลือกแชร์สิ่งต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นไฟล์ข้อมูล, รูปภาพ, หน้าเว็บไซต์, เพลง, ภาพยนตร์ และอื่นๆ สำหรับวิธีแชร์นั้นก็ง่ายมาก เพียงแค่เลือกปุ่ม Share ใน Charms Bar เท่านั้นเอง นอกจากนี้ยังสามารถแชร์ไปยังแอพพลิเคชัน อื่น ๆ ได้อีกด้วย อาทิเช่น แชร์ลิงก์หน้าเว็บไปยังคลิปบอร์ดหรือ Notepad หรือแชร์รูปภาพไปยังโปรแกรมแต่งภาพ เป็นต้น

6. เปิดอินเตอร์เน็ตได้รวดเร็ว ถ้าคุณใช้เบราว์เซอร์ Internet Explorer 10 คุณจะต้องประหลาดใจว่า IE10 เปิดเว็บได้รวดเร็วกว่า IE รุ่นก่อนมากนัก เร็วจนเบราว์เซอร์อื่นๆ ต้องหันมามองแล้วล่ะว่า จะพัฒนาเบราว์เซอร์ของตัวเองให้เร็วขึ้นเพื่อหนี IE 10 ได้อย่างไร

7. การรีเฟรชและรีเซตระบบ Windows 8 นี้ มีฟีเจอร์ใหม่ให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขระบบได้เมื่อระบบมีปัญหาจนไม่สามารถแก้ได้แบบปกติ ฟีเจอร์รีเฟรช (Refresh) หรือรีเซต (Reset) ของ Windows 8 ช่วยคุณแก้ไขได้ง่ายโดยใช้เวลาไม่ได้นาน การรีเฟรซ ? คือการล้างระบบใหม่เพื่อให้กับเครื่องที่ใช้ไปนานๆ แล้วรู้สึกว่าเครื่องทำงานช้าหรือมีปัญหานั้น ให้สามารถกลับมาทำงานได้ดีขึ้นโดยการรีเฟรชนี้จะไม่ทำให้ ไฟล์, การปรับแต่งส่วนบุคคล (Personalization Settings) และแอพพลิเคชันหายไป การรีเซต ? จะลบทุกอย่างในเครื่องออกทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นไฟล์, แอพพลิเคชัน แอคเคาท์ต่าง ๆ ของคุณ พูดง่ายๆ คือเครื่องจะกลับม้เหมือนตอนติดตั้งวินโดวส์ครั้งแรก ฟีเจอร์ทั้งสองคุณสามารถเข้าได้ที่เมนู Charms Bar เลือก Settings > Change PC Settings > General

9. Task Manager Windows 8 ปรับปรุง Task Manager ให้ดูสวยงามขึ้น ใช้งานง่าย และมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม การแสดงแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ แบ่งออกเป็นหมวดหมู่ Apps, Background Processes และ Windows Processes และมีรายละเอียดการใช้ทรัพยากรเครื่อง ของแต่ละแอพพลิเคชันให้ดูว่าใช้ CPU, Ram, Bandwidth เท่าไหร่ในแบบ Real Time พร้อมทั้งยังมีการแสดงในรูปแบบกราฟ และบันทึกการใช้ทรัพยากรในแต่ละช่วงเวลาให้ดูย้อนหลังได้ นอกจากนี้ ทั้งนี้ยังสามารถตั้งค่าให้แอพพลิเคชัน เริ่มทำงานหรือไม่ทำงานทันทีที่เปิดเครื่องได้

10. หน้าต่างก็อปปี้ไฟล์ Windows 8 มีการก็อปปี้ไฟล์แบบใหม่ทั้งหน้าตาและประสิทธิภาพที่ดีขึ้น โดย เมื่อเจอไฟล์ชื่อซ้ำกันและแสดงหน้าต่างถามก่อนว่าต้องการทำอะไรกับมัน ทำให้ผู้ใช้สามารถตัดสินใจว่าจะเอาอย่างไรกับไฟล์ ปรับความเร็วในการก็อปปี้ได้ตัวเอง ยกตัวอย่าง เช่น คุณกำลังก็อปปี้ไฟล์ผ่านระบบเครือข่ายไร้สายอยู่แต่มาเสียบสายแลนในเวลา ต่อมาระบบจะรับรู้แล้วปรับตัวเองให้ทำงานเร็วขึ้นโดยอัตโนมัติถ้าไฟล์ให้มากจนเครื่องเข้าโหมด Sleep หรือ Hibernate ระบบจะหยุดการก็อปปี้ไฟล์ และเมื่อตื่นขึ้นมาจะถามว่าต้องการ Resume ต่อหรือไม่ถ้ามีปัญหา error ขณะก็อปปี้ไฟล์ ระบบจะถามก่อนเริ่มก็อปปี้ในกรณีพบก่อน หรือแจ้งเตือนปัญหาหลังก็อปปี้เสร็จในกรณีพบระหว่างทาง ช่วยทำให้งานไม่หยุดชะงักและคุณไม่ต้องเฝ้าหน้าเครื่องตลอดเวลาที่ก็อปปี้ไฟล์

11. ริบบอนเมนูของ Windows Explorer Windows Explorer ของ Windows 8 จะมีเมนูแบบ Ribbon ที่เหมือนกับ Microsoft Office 2010 ทำให้ใช้งานได้สะดวกและหลากหลายขึ้น โดย Windows Explorer แสดงผลได้ทั้งแบบเต็มแบบย่อ (minimize) ซึ่งเป็นดีฟอลต์เพื่อลดความซับซ้อนและเพิ่มพื้นที่ของหน้าต่าง Explorer ที่ปุ่มของริบบอนจะมี Tooltip ของปุ่มจะแสดงรายระเอียดว่าใช้ทำอะไร ค่าต่างๆ ที่คุณตั้งไว้ใน Explorer สามารถบันทึกไว้ในแอคเคาท์คุณได้ และสามารถนำไปใช้ซิงค์กับเครื่องอื่นโดยอัตโนมัติ

F1 ถึง F12 รู้ไหมว่ามันทำอะไรได้บ้าง?[แก้]

คีย์ที่กล่าวมาส่วนมากเราจะเรียนกมันว่า "ฟังก์ชันคีย์" F1 ถึง F12 อาจมีความหลากหลายของการใช้งานที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการที่ติดตั้งและโปรแกรมซอฟต์แวร์ที่เปิดอยู่ซึ่งจะเปลี่ยนวิธีการของแต่ละคีย์เหล่านี้ ยังรวมถึงการใช้งานฟังก์ชันคีย์รวมดับคีย์ ALT หรือ CTRL เช่นผู้ใช้ Microsoft Windows สามารถกด ALT + F4 เพื่อปิดโปรแกรมที่ใช้งานอยู่ ด้านล่างเป็นรายการบางส่วนของการทำงานของคีย์ฟังก์ชั่นในคอมพิวเตอร์ที่ใช้ Microsoft Windows แต่จะไม่ใช่ทุกโปรแกรมที่สนับสนุนฟังก์ชันคีย์

F1

มักจะใช้เป็นคีย์ช่วยเกือบทุกโปรแกรมจะเปิดหน้าจอ ป้อนการตั้งค่า CMOS Windows Key + F1 จะเปิดตัวช่วยของ Microsoft Windows เปิดบานหน้าต่างงาน

F2

ใน Windows จะใช้ในการเปลี่ยนชื่อไอคอนหรือไฟล์ Alt + Ctrl + F2 เปิดเอกสารใหม่ในโปรแกรม Microsoft Word . Ctrl + F2 จะแสดงหน้าต่างตัวอย่างก่อนพิมพ์ใน Microsoft Word เข้าสู่การป้อนการตั้งค่า CMOS หรือ Bios

F3

เปิดคุณลักษณะการค้นหาในหลายๆโปรแกรมรวมถึง Microsoft Windows ใน MS - DOS หรือ Windows ของบรรทัดคำสั่ง F3 จะทำซ้ำคำสั่งสุดท้าย Shift + F3 จะมีการเปลี่ยนแปลงข้อความใน Microsoft Word

F4

เปิดพบหน้าต่าง ทำซ้ำการกระทำล่าสุด ( Word 2000 ขึ้นไป ) Alt + F4 จะปิดโปรแกรมที่ใช้งานอยู่ใน Microsoft Windows Ctrl + F4 จะปิดหน้าต่างที่เปิดอยู่ในหน้าต่างที่ใช้งานในปัจจุบันใน Microsoft Windows

F5

ในทุกเบราว์เซอร์อินเทอร์เน็ต F5 จะรีเฟรชหรือโหลดหน้าเว็บหรือหน้าต่างเอกสาร เปิดหน้าค้นหา แทนที่ และไปที่หน้าต่างใน Microsoft Word เริ่มสไลด์โชว์ใน PowerPoint

F6

ย้ายเคอร์เซอร์ไปที่ Address bar ใน Internet Explorerและ Mozilla Firefox . Ctrl + Shift + F6 เปิดไปยังเอกสารอื่น ๆ ใน Microsoft Word F7 ปกติจะใช้เพื่อตรวจสอบการสะกดและไวยากรณ์ตรวจสอบเอกสารในโปรแกรม Microsoft เช่น Microsoft Word, Outlook, ฯลฯ Shift + F7 ทำงานตรวจสอบบนคำที่ไฮไลต์ เปิดการใช้งานเลือนหน้าต่างด้วยปุ่มลูกศรบนคีย์บอร์ดใน Mozilla Firefox

F8

แป้นฟังก์ชันที่ใช้ในการเข้าสู่เมนูเริ่มต้น Windows, นิยมใช้ในการเข้าถึง Windows แบบ Safe Mode .

F9

เปิดแถบเครื่องมือวัดใน Quark 5.0

F10

ใน Microsoft Windows เปิดใช้งานแถบเมนูของโปรแกรมที่เปิดอยู่ Shift + F10 เป็นเช่นเดียวกับการคลิกขวาบนไอคอนที่ไฮไลต์ไฟล์หรือการเชื่อมโยงอินเทอร์เน็ต การเข้าถึงการกู้คืนพาร์ทิชันที่ซ่อนอยู่ ของ HP และ Sony คอมพิวเตอร์ ป้อนการตั้งค่า CMOS .

F11

โหมดเต็มหน้าจอในเบราว์เซอร์อินเทอร์เน็ต CTRL + F11 การเข้าถึง การกู้คืนพาร์ทิชันที่ซ่อนอยู่ในคอมพิวเตอร์ของ Dell การเข้าถึงการกู้คืนพาร์ทิชันที่ซ่อนอยู่บน eMachines, Gateway, และคอมพิวเตอร์ Lenovo

F12

เปิดหน้าที่ทำการบันทึกใน Microsoft Word SHIFT + F12 บันทึกเอกสาร Microsoft Word Ctrl + Shift + F12 พิมพ์เอกสารใน Microsoft Word

อันตรายจากการใช้ Copy+Paste[แก้]

บางท่านที่ใช้งานอินเตอร์เน็ตผ่านเว็บบราวเซอร์ของ IE อาจไม่รุ้ถึงอันตรายจากการใช้ Copy+Paste ดังนั้นเรามาระวังไว้ไม่เสียหลายนะครับ ท่านทั้งหลายส่วนมากคงเคยชิดกับการใช้คีย์ลัดบนแป้นคีย์บอร์ดของเราเป็นส่วนหนึ่งที่ ช่วยอำนวยความสะดวกให้กับการทำงานต่างๆของเราได้มาก แต่ในบางกรณี ความสะดวกสบายเหล่านี้กลับต้องแลกมาด้วยความไม่ปลอดภัยมาด้วยนะครับ ขอแนะนำว่า อย่าใช้การ Copy & Paste กับข้อมูลที่มีความสำคัญ เช่น หมายเลขบัตรเครดิต รหัสผ่านต่าง ๆ etc. เพราะการใช้ Ctrl+C หรือ Copy จะมีการเก็บค่าไว้ใน Clipboard ของ Windows ซึ่งสามารถถูกอ่านผ่าน Web site ได้ด้วย Javascript + ASP ซึ่งโค๊ดพวกนี้มีแจกกันให้เกลือนพูดง่าย ๆ คือ ไม่ต้องมีความรู้ด้านโปรแกรม ก็เอาข้อมูลเราไปได้แล้วแค่รู้ขั้นตอนการใช้งานก็พอ ซึ่งนี่ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่โดนแฮ็คข้อมูลต่าง กัน ไปนะครับ ลอง copy text อะไรก็ได้บนเครื่องแล้วเปิด URL ต่อไปนี้ดู http://www.friendlycanadian.com/applications/clipboard.htm หากเว็บนี้แสดงข้อความบนคลิปบอร์ดที่เราก๊อปปี้ไว้ แสดงว่าคุณยังไม่ได้ป้องกันครับ มันเป็นสคริปทดสอบนะครับ

มาดุวิธีการป้องกันครับ 1. เปิด Internet Explorer ขึ้นมา, ไปยังเมนู Tools -> Internet Options -> Security 2. Click ที่ปุ่ม Custom Level 3. เปิดไปที่ Tab ที่ชื่อว่า security แล้วตั้งค่าโดยกดปุ่ม Custom Level. แล้วหาคำว่า Allow Paste Operations via Script จากนั้นเลือกที่ Disable เพื่อป้องกันการถูกล้วงข้อมูลจากคลิปบอร์ดของท่าน

      • หมายเหตุ โปรแกรมเปิดเว็บนั้ FireFox และ Opera , Google Chrome ไม่พบปัญหาดังกล่าวแต่ก็อาจโดนได้นะครับนะครับ แต่ IE โดนแน่ ๆ ป้องกันไว้ดีมาแก้ทีหลังนะครับ เจอข้อมูลดี ๆ เลยเอามาฝากกันครับ


LAN Technology[แก้]

โครงสร้างของเครือข่ายหรือภาษาทางเทคนิคเรียกว่า “Topology” คือลักษณะการเชื่อต่อทางกายภาพระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในระบบเครือข่าย ซึ่งหากจะแบ่งประเภทของโครงสร้างเครือข่ายกันจริง ๆ ตามหลักวิชาการที่ใช้กันมาตั้งแต่สมัยก่อน ๆ นั้น ก็สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 แบบคือ

1 โครงสร้างแบบสตาร์ ( Star Network)

ไฟล์:=Stardown.jpg

ลักษณะการเชื่อมต่อของโครงสร้างแบบสตาร์จะคล้าย ๆ กับดาวกระจาย ดังรูปที่ได้แสดงไว้ คือมีอุปกรณ์ประเภท Hub หรือ Switch เป็นศูนย์กลางการเชื่อมต่อแบบนี้มีประโยชน์คือ เวลาที่มีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดหรือเสียก็จะไม่มีผลต่อการทำงานของระบบโดยรวมแต่อย่างใด นอกจากนี้หากต้องการเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าไปในเครือข่ายก็สามารถทำได้ทันทีโดยไม่ต้องหยุดการทำงานของเครือข่ายก่อน การต่อแบบสตาร์นี้เป็นแบบที่นิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากราคาอุปกรณ์ที่มาใช้เป็นศูนย์กลางอย่าง Hub หรือ Switch ลดลงมากในขณะที่ประสิทธิภาพหรือความเร็วเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนปัจจุบันได้ความเร็วถึงระดับของกิกาบิต ( 1,000 Mbps) แล้ว ข้อดี ติดตั้งและดูแลง่าย แม้ว่าสายที่เชื่อมต่อไปยังบางโหลดจะขาด โหลดที่เหลืออยู่ก็ยังจะสามารถทำงานได้ ทำให้ระบบเน็ตเวิร์กยังคงสามารถทำงานได้เป็นปกติ การมี Central node อยู่ตรงกลางเป็นตัวเชื่อมระบบ ถ้าระบบเกิดทำงานบกพร่องเสียหาย ทำให้เรารู้ได้ทันทีว่าจะไปแก้ปัญหาที่ใด

ข้อเสีย เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้เป็น central node และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสายเคเบิลในสถานีงาน การขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นทำได้ยาก เพราะการขยายแต่ละครั้งจะต้องเกี่ยวเนื่องกับโหลดอื่นๆ ทั้งระบบเครื่องคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางมีราคาแพง แบบวงแหวน (Ring Network)


2โครงสร้างแบบบัส ( Bus Network)

ไฟล์:=Bus-Topology.jpg

เครือข่ายแบบบัส (bus topology) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบิ้ล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีการ ที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกัน เพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน วิธีการที่ใช้อาจแบ่งเวลาหรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่ สัญญาณที่แตกต่างกัน การเซตอัปเครื่องเครือข่ายแบบบัสนี้ทำได้ไม่ยากเพราะคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิด ถูกเชื่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียวโดยส่วนใหญ่เครือข่ายแบบบัส มักจะใช้ในเครือข่ายขนาดเล็ก ซึ่งอยู่ในองค์กรที่มีคอมพิวเตอร์ใช้ไม่มากนัก ข้อดีของการเชื่อมต่อแบบบัส คือ ใช้สื่อนำข้อมูลน้อย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผลต่อการทำงานของระบบโดยรวม แต่มี ข้อเสียคือ การตรวจจุดที่มีปัญหา กระทำได้ค่อนข้างยาก และถ้ามีจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา ข้อจำกัด คือ จำเป็นต้องใช้วงจรสื่อสารและซอฟต์แวร์เข้ามาช่วยเพื่อหลีกเลี่ยงการชนกันของสัญญาณข้อมูล และถ้ามีอุปกรณ์ตัวใดตัวหนึ่งเสียหาย อาจส่งผลให้ทั้งระบบหยุดทำงานได้

ไฟล์:=Ring potology.gif

3โครงสร้างแบบริง ( Ring Network) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว(Star Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับอุปกรณ์ที่เป็น จุดศูนย์กลาง ของเครือข่าย โดยการนำสถานีต่าง ๆ มาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลางการติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ ด้วยการ ติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วนสลับสายกลางการทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงเป็นศูนย์กลางของการติดต่อ วงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่าง ๆ ที่ต้องการติดต่อกัน ข้อดี คือ ถ้าต้องการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทำได้ง่ายและไม่กระทบต่อเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้างสูง และเมื่อฮับไม่ทำงาน การสื่อสารของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบก็จะหยุดตามไปด้วย ข้อจำกัด ถ้าฮับเสียหายจะทำให้ทั้งระบบต้องหยุดซะงัก และมีความสิ้นเปลืองสายสัญญาณมากกว่าแบบอื่นๆ ข้อดี ใช้เคเบิลและเนื้อที่ในการติดตั้งน้อย คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน ข้อเสีย หากโหลดใดโหลดหนึ่งเกิดปัญหาขึ้นจะค้นหาได้ยากว่าต้นเหตุอยู่ที่ไหน และวงแหวนจะขาดออก

4โครงสร้างแบบเมช (Mesh Topology)

ไฟล์:=Meshhh.jpg

MESH เป็นรูปแบบที่ถือว่า สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด เป็นรูปแบบที่ใช้วิธีการเดินสายของแต่เครื่อง ไปเชื่อมการติดต่อกับทุกเครื่องในระบบเครือข่าย คือเครื่องทุกเครื่องในระบบเครือข่ายนี้ ต้องมีสายไปเชื่อมกับทุก ๆ เครื่อง ระบบนี้ยากต่อการเดินสายและมีราคาแพง จึงมีค่อยมีผู้นิยมมากนัก ข้อดี อัตราความเร็วในการส่งข้อมูล ความเชื่อถือได้ของระบบ ง่ายต่อการตรวจสอบความผิดพลาด ข้อมูลมีความปลอดภัยและมีความเป็นส่วนตัว

ข้อเสีย จำนวนจุดที่ต้องใช้ในการเชื่อมต่อ และจำนวน Port I/O ของแต่ละโหนดมีจำนวนมาก (ตามสูตรข้างต้น) ถ้าในกรณีที่จำนวนโหนดมาก เช่นถ้าจำนวนโหนดทั้งหมดในเครือข่ายมีอยู่ 100 โหนด จะต้องมีจำนวนจุดเชื่อมต่อถึง 4,950 เส้น เป็นต้น3

WAN Technology[แก้]

Circuit switching เทคนิคในการสื่อสารข้อมูลจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง เมื่อมีการเชื่อมต่อกันแล้วจะติดต่อกันได้ตลอดเวลา ผู้อื่นจะแทรกเข้ามาไม่ได้เลย จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะปลดวงจรออก ตัวอย่างง่าย ๆ เช่นการติดต่อทางสายโทรศัพท์ เมื่อเริ่มพูดกันได้แล้ว คนอื่นจะต่อสายแทรกเข้ามาไม่ได้ จนกว่าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะวางหูลง (ปลดวงจร)

Packet switching เทคนิคในการแบ่งข้อมูลออกเป็นกลุ่ม (Packet) แต่ละกลุ่มจะมีความยาวเท่ากัน (ปกติ 100บิต)ข้อมูลจะหาทิศทางเดินไปได้เอง โดยที่สายหนึ่ง ๆ จะสามารถใช้กันได้หลายคน เมื่อถึงที่ปลายทางข้อมูลก็จะกลับ ไปรวมกันเอง

หลักการทำงาน

Circuit switching

ไฟล์:=283535ffgg.png

1) เมื่อสถานีA ต้องการส่งข้อมูลให้กับ สถานีB จะต้องมีการสร้างเส้นทางเสียก่อน

   โดยที่ฝั่งที่รับข้อมูลจะต้องตอบว่าพร้อมรับข่าวสาร (Establishment/ Connection)     

2) เมื่อสร้างเส้นทางการส่งข้อมูลเรียบร้อย ตลอดเวลาของการสื่อสารจะใช้เส้นทางเดิมตลอด

    และไม่มีบุคคลอื่นมาใช้เส้นทาง  

3) มีอัตราความเร็วในการส่งเท่ากันทั้งด้านรับและด้านส่ง 4) มีการทำ Error Control และ Flow Control ทุกๆ ชุมสาย 5) ในขณะทำการส่งข้อมูล ข้อมูลจะถูกส่งด้วยความเร็วคงที่ และไม่มีการหน่วงเวลา(Delay) 6) เมื่อส่งข้อมูลเสร็จจะยกเลิกเส้นทางที่ได้เชื่อมต่อขึ้นมาเพื่อให้เครื่องอื่นได้ใช้เส้นทางได้

Packet switching

ไฟล์:=Packetdvn.JPG

1) เมื่อ สถานี A ต้องการส่งข้อมูลให้กับสถานีB จะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็น Packet ย่อยก่อนจะถูก ส่งออกไป 2) ส่งข้อมูลโดยใช้ชุมสาย PSE (Packet switching exchange) ควบคุมการรับส่ง 3) ทำ Error control หรือ Flow Control ที่ PSE 4) ด้านรับและด้านส่งมีอัตราความเร็วที่ไม่เท่ากันได้ 5) ใช้เทคนิค Store - and - Forward ในการส่งข้อมูล ผ่าน PSE

    ลักษณะการเชื่อมต่อ 

Circuit switching เชื่อมต่อทางกายภาพของวงจรระหว่างจุดต่อจุด (point-to-point) Packet switching ส่งแต่ละแพกเกตด้วยเส้นทางต่างๆที่เชื่อมโยงกันเป็นตาข่าย และทำการรวมแต่ละแพคเกตกลับคืนเมื่อถึงจุดหมายแล้ว

OSI model + TCP/IP model[แก้]

TCP/IP model OSI model
Application Layer Application Layer
- Presentation Layer
- Session Layer
Transport Layer Transport Layer
Internet Layer Network Layer
Network Access Layer Data Link Layer
- Physical Layer
  1. https://www.facebook.com/profile.php?id=100000978534715