ผู้ใช้:Beatzkkz/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ความเป็นมาของแผนกวิชาช่างพิมพ์

อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยได้กําเนิดขึ้นและพัฒนาความเป็นมาอย่างต่อเนื่องนานกว่า 150 ปี ปัจจุบัน

ได้มีการนำเอาเทคโนโลยีใหม่มาใช้ในกระบวนการผลิ ต ยิ่งกว่านั้นอุตสาหกรรมการพิมพ์ได้มีการขยายตัวเติบโตขึน้ร้อยละ 20 ต่อปี ซึ่งอัตา การเติบโตนี้จําเป็นตงองขยายกำลังการผลิตด้วยเครื่องมือ เครื่องจักรที่ทันสมัย สถน ที่และบุคลากรต่าๆ มารองรับโดยเฉพาะอย่างยิ่ง บุคลากรการพิมพ์ระดับช่างฝีมือ และช่างเทคนิค ทั้งนี้เพื่อพัฒนาคุณภาพของสิ่งพิมพ์และมาตรฐานการผลิตจนถึั้ึตอนน รกาผลิตเพื่อส่งออกนำรายได้เข้าประเทศทั้งอุตสาหกรรมการพิมพ์กำลังเดินสู่การคา ระบับประเทศในอนาคตอันใกล้ ด้วยเหตุผลดังกล่าวทำให้อุตสาหกรรมการพิมพ์ขาด บุคลากรที่มีความสามารถ และทักษะ แม้ว่าจะมีสถาบันการศึกษาหลายแห่งทั้งรัฐ และเอกชนที่สมมารถผลิตบุคลากรทางการพิมพ์ได้ในระดับต่างๆ แต่ก็ยังไม่เพียงพอ กับความต้องการของตลาดแรงงานในภาคอุตสาหกรรมที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว

วิทยาลัยมีนบุรี สังกัดกรมอาชีวศึกษา ได้ตระหนักปัญหาถึงปัญหานี้อย่างมาก ประกอบกับวิทยาเทคนิคมีนบุรี มีหน้าที่ในการ จัดการศึกษาอาชีพต่างๆ ทั้งในระดับ ปวช. และระดับ ปวส.อยู่แล้ว อีกทั้งได้รับงบ ประมาณครุภัณฑ์เครื่องจักรทางการพิมพ์มาแล้วส่วนหนึ่งและเพื่อให้ทรัพพยากรทั้ง หลายทั้งปวงเหล่านี้เกิดรวมกันอย่างสูงสุดวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรีจึงจัดทำโครงการเปิด การเรียนการสอนแผนกวิชาการพิมพ์

พ.ศ. 2534 กรมอาชีวศึกษาด้วยความร่วมมือของหน่วยงาน GTZ รัฐบาล ธารณรัฐเยอรมัน และสภาอุตสหกรรมแห่งประเทศไทยกลุ่มอุตสาหกรรมตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรช่างชำนาญงานระบบทวิภาคี สาขาการพิมพ์เป็นหลักสูตร 3 ปี โดยรับ นักเรียนที่สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 เข้าเป็นนักเรียนช่างฝึกหัดในสถาน ประกอบการที่นักเรียนสังกัดอย่ายใต้การดูแลของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์สำนักงานโครงการอาชีวศึกษาทวิภาคี กรมอาชีวศึกษา