ข้ามไปเนื้อหา

ตั้งฉ่าย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตั้งฉ่าย
ตั้งฉ่ายและกระปุกตั้งฉ่ายที่มีรูปทรงเป็นเอกลักษณ์
แหล่งกำเนิดจีน
ภูมิภาคเทียนจิน
ส่วนผสมหลักผักกาดขาว เกลือ กระเทียม
รูปแบบอื่นแบบเจ ไม่ใส่กระเทียม

ตั้งฉ่าย (tung tsai[1]จีน: 冬菜; Tianjin preserved vegetable จีน: 天津;; พินอิน: Tiānjīn dōngcài ความหมาย ผักฤดูหนาวเทียนจิน) เป็นผักดองแบบจีนที่นิยมใส่ในก๋วยเตี๋ยว ข้าวต้มเครื่อง และยำแบบจีน มีต้นกำเนิดจากเทียนจิน ประเทศจีน ทำจากผักกาดขาวหรือผักหางหงส์ สับให้เป็นชิ้นเล็ก ผึ่งในที่ร่ม แล้วเคล้ากับเกลือและกระเทียม ตากแดดพอหมาด เก็บใส่กระปุกไว้ราว 1 เดือน ถ้าเป็นอาหารเจสำหรับชาวพุทธที่กินเจจะไม่ใส่กระเทียม[2][3][4][5][6][7]

อ้างอิง

[แก้]
  • สุทัศน์ ศุกลรัตนเมธี. สืบสานตำนานอาหารแต้จิ๋ว. กทม. ตู้กับข้าว. 2556
  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-02. สืบค้นเมื่อ 2014-06-10.
  2. hk.knowledge.yahoo.com
  3. sina.com.cn
  4. www.foodmate.net
  5. "ks.cn.yahoo.com". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-21. สืบค้นเมื่อ 2014-06-10.
  6. d.wanfangdata.com.cn
  7. www.yidilian.com