ตัวนำยวดยิ่งออร์แกนิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ตัวนำยวดยิ่ง Organic

สารประกอบ Organic ที่แสดงสมบัติเป็นตัวนำยวดยิ่งได้ ถูกค้นพบครั้งแรกใรทศวรรต 1980 โดยมีอุณหภูมิวิกฤตน้อยกว่า 1K ซึ่งกลไกการเกิดสภาพนำยวดยิ่งในสาร Organic นี้เกิดจากการเกิดจากการถ่ายเทประจุ (charge transfer) ระหว่างโมเลกุล Organic cation กับ Inorganic anion complex โดยมี π-orbital ใน cation ทำให้เกิดการนำไฟฟ้าแบบโลหะขึ้น โครงสร้างหลักที่สำคัญในตัวยวดยิ่ง Organic ถูกเรียกว่า Organic building block คือ bis (ethylenedioxy) Tetrathiafulvalene ซึ่งเขียนย่อๆว่า ET โดยในปี 1983 มีค้นพบ (ET)2ReO4 ที่มี Tc=2.5K ซึ่งสูงมากแล้วสำหรับตัวนำยวดยิ่งประเภทนี้ ในปัจจุบันมีการค้นพบในสารประกอบ (ET)2Cu[N(CN)2]Br มี Tc=11.6K ทำให้แนวคิดเกี่ยวกับตัวนำยวดยิ่ง Organic ที่ต้องมี Tc ต่ำมากๆเปลี่ยนไป