ข้ามไปเนื้อหา

ซินนาบาร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซินนาบาร์
การจำแนก
ประเภทSulfide mineral
สูตรเคมีMercury(II) sulfide, HgS
คุณสมบัติ
สีCochineal-red, towards brownish red and lead-gray
รูปแบบผลึกRhombohedral to tabular; granular to massive and as incrustations
โครงสร้างผลึกTrigonal
การเกิดผลึกแฝดSimple contact twins, twin plane {0001}
แนวแตกเรียบPrismatic {1010}, perfect
รอยแตกUneven to subconchoidal
ความยืดหยุ่นSlightly sectile
ค่าความแข็ง2.0–2.5
ความวาวAdamantine to dull
ดรรชนีหักเหnω = 2.905 nε = 3.256
คุณสมบัติทางแสงUniaxial (+); very high relief
ค่าแสงหักเหสองแนวδ = 0.351
สีผงละเอียดScarlet
ความถ่วงจำเพาะ8.176
สภาพละลายได้1.04×10−25 g/100 ml water
(Ksp at 25 °C = 2×10−32)[1]
ความโปร่งTransparent in thin pieces
อ้างอิง: [2][3][4][5]

ซินนาบาร์ (อังกฤษ: Cinnabar; ออกเสียง /ˈsɪnəbɑːr/) หรือ cinnabarite (/sɪnəˈbɑːrt/) mercury(II) sulfideแดง (HgS) ชาด ธรรมชาติ เป็นแร่ของปรอทที่พบได้ทั่วไป

แร่ชนิดนี้ในตำรายาโบราณเรียกชาดจอแส ใช้สงบประสาทและถอนพิษ ก่อนใช้จะต้องฆ่าฤทธิ์ก่อน ส่วนชาดที่ได้จากเมอร์คิวรรีซัลไฟด์สังเคราะห์นั้นเรียกชาดหรคุณจีน[6]

โครงสร้างผลึกของซินนาบาร์

อ้างอิง

[แก้]
  1. Myers, R. J. (1986). "The new low value for the second dissociation constant of H2S. Its history, its best value, and its impact on teaching sulfide equilibria". Journal of Chemical Education. 63: 689.
  2. "Cinnabar". Mineralienatlas.
  3. "Cinnabar (HgS)" (PDF). rruff.geo.arizona.edu. สืบค้นเมื่อ 2015-07-24.
  4. "Cinnabar: Cinnabar mineral information and data". Mindat. สืบค้นเมื่อ 2015-07-24.
  5. "Cinnabar Mineral Data". Webmineral. สืบค้นเมื่อ 2015-07-24.
  6. ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556. หน้า 48

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]