ข้ามไปเนื้อหา

ชาดลิ้นจี่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โครงสร้างทางเคมีของชาดลิ้นจี่
กลุ่มของ Dactylopius coccus ตัวเมียที่เจริญบน Barlovento, La Palma, หมู่เกาะคานารี
ตาข่ายของชาวซาโปเทกบนต้น Opuntia ficus-indica ที่แมลงอินจีมาเกาะ

ชาดลิ้นจี่ (Carmine; /ˈkɑːrmɪn/ หรือ /ˈkɑːrmn/ หรือ crimson lake, cochineal, natural red 4,[1]) หรือสีลิ้นจี่เป็นสีแดงธรรมชาติที่ใช้ทาปากในสมัยโบราณและงิ้วใช้แต่งหน้าให้เป็นสีแดง สูตรทางเคมีเป็นกรดคาร์มินิกที่เกิดสารเชิงซ้อนกับอะลูมิเนียม ได้จากแมลงอินจีเพศเมียที่มีตัวอ่อนอยู่ในท้อง นำแมลงตัวเมียมาอบให้แห้ง จะได้เม็ดเล็กๆสีเงิน เมื่อนำมาบดจะได้สีแดง เรียกชาดลิ้นจี่

อ้างอิง

[แก้]
  1. doi:10.1080/10520290701207364
    This citation will be automatically completed in the next few minutes. You can jump the queue or expand by hand
  • ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงส์, 2556. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทย เล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, หน้า 43 – 45.