จีนา แฮสเปล
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
จีนา แฮสเปล | |
---|---|
Gina Haspel | |
ผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐ คนที่ 7 | |
ดำรงตำแหน่ง พฤษภาคม 21, 2018 – มกราคม 20, 2021 | |
ประธานาธิบดี | ดอนัลด์ ทรัมป์ |
รองผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐ คนที่ 6 | |
ดำรงตำแหน่ง มกราคม 7, 2017 – พฤษภาคม 21, 2018 | |
ประธานาธิบดี | ดอนัลด์ ทรัมป์ |
ก่อนหน้า | เดวิด โคเฮน |
ถัดไป | ว่าง |
ผู้อำนวยการส่วนปฏิบัติการลับแห่งชาติ สหรัฐ รักษาการ | |
ดำรงตำแหน่ง กุมภาพันธ์ 28, 2013 – พฤษภาคม 7, 2013 | |
ประธานาธิบดี | บารัก โอบามา |
ก่อนหน้า | จอห์น เบ็นเน็ต |
ถัดไป | แฟรงค์ อาชิบาลด์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | Gina Cheri Haspel จีนา เชรี แฮสเปล 1 ตุลาคม ค.ศ. 1956 |
จีนา เชรี แฮสเปล (เกิด 1 ตุลาคม พ.ศ. 2499) เป็นเจ้าหน้าที่ด้านข่าวกรอง อดีตผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐ คนที่ 7 ซึ่งแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์[1][2][3] ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 และวุฒิสภาสหรัฐได้ลงมติรับรองการเข้ารับตำแหน่งของเธอเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2018 ที่ผ่านมา ซึ่งสืบต่อจาก ไมก์ ปอมเปโอ และเธอเป็นสุภาพสตรีคนแรกที่ดำรงตำแหน่งนี้[2][3][4][5][6]
เธอถูกโจมตีอย่างหนักเมื่อครั้นยังเป็นหัวหน้าทีมปฏิบัติการ CIA ในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2545 ซึ่งนักโทษถูกทรมานด้วยความโหดร้าย[7][8][9][10] ด้วยเหตุนี้เธอจึงได้รับการกล่าวถึงอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้ทรมานอย่างเหี้ยมโหด[11] และถูกกล่าวหาว่าเป็นอาชญากรสงคราม[12][13]
การรับราชการที่สำนักข่าวกรองกลางสหรัฐ
[แก้]แฮสเปล ได้เข้าร่วมสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐ ใน พ.ศ. 2528 และได้ดำรงตำแหน่งสูงสุดหลายตำแหน่งในหน่วยงานนี้รวมถึงตำแหน่งรองผู้อำนวยการส่วนปฏิบัติการลับแห่งชาติ ภายหลังเป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่ของ โจซ โรดิเกซ ซึ่งเป็นหัวหน้าศูนย์ต่อต้านการก่อการร้ายของสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐฯ ในไดอารี่ของเขา ได้เขียนถึงแฮสเปลว่า เธอได้ "ใช้เส้นสาย" ใน พ.ศ. 2558 ในสั่งการทำลายหลักฐานวิดีโอเทปที่เกี่ยวกับฐานปฏิบัติการลับในประเทศไทย[14]
รองผู้อำนวยการส่วนปฏิบัติการลับแห่งชาติ
[แก้]ใน พ.ศ. 2556 จอห์น เบรนแนน ผู้อำนวยการแผนกข่าวกรองกลางสหรัฐในขณะนั้น เสนอชื่อเธอให้ได้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการส่วนปฏิบัติการลับแห่งชาติ ซึ่งหน้าที่ดำเนินการภารกิจอย่างลับ ๆ ทั่วโลก[15] อย่างไรก็ตาม เธอได้ปฏิเสธตำแหน่งอย่างถาวร เนื่องจากมีการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของเธอในการคุมขังและการสอบปากคำ[16] แฮสเปลเคยดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการส่วนปฏิบัติการลับแห่งชาติ ฝ่ายข่าวกรองต่างประเทศและปฏิบัติการลับอีกด้วย .[17]
รองผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐ
[แก้]เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ แต่งตั้งเธอเป็นรองผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐ[18] นแถลงการณ์อย่างเป็นทางการออกมาในวันนั้น ประธานกรรมาธิการสรรหาด้านข่าวกรอง สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ เดวิน นูเนส กล่าวว่า[19]
"ด้วยประสบการณ์กว่าสามสิบปีในการให้บริการแก่ซีไอเอ และประสบการณ์จากต่างประเทศอย่างกว้างขวาง เธอได้ทำงานอย่างใกล้ชิดกับกรรมาธิการข่าวกรอง สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ และได้สร้างความประทับใจให้แก่เราด้วยความทุ่มเทของเธอตรงไปตรงมา และความมุ่งมั่นทุ่มเทให้แก่เครือข่ายข่าวกรอง เธอเป็นคนที่เหมาะสมสำหรับงานและคณะกรรมการคาดว่าจะได้ร่วมงานกับเธอในอนาคต"
ต่อมาในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 สมาชิกของคณะกรรมาธิการข่าวกรองวุฒิสภาสหรัฐหลายคน ได้เรียกร้องให้ทรัมป์พิจารณาทบทวนการแต่งตั้ง แฮสเปลเป็นรองผู้อำนวยการฯ[20] สมาชิกวุฒิสภา เชลดอน ไวท์เฮ้าส์ ได้อ้างถึงสมาชิกวุฒิสภา รอน ไวเดน และ สมาชิกวุฒิสภา มาร์ติน เฮนริช ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกรรมาธิการฯ ความว่า :
"ผมมีความกังวลอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกับการมีรายงานว่าบุคคลนี้มีส่วนเกี่ยวข้องในการทำลายเทปวีดีทัศน์ของ CIA โดยไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งเป็นเอกสารเกี่ยวกับการใช้ทรมานของผู้ถูกกักขังสองคน เพื่อนของผมสมาชิกวุฒิสภาไวเดน และ สมาชิกวุฒิสภา เฮนริช กล่าวว่า มีรายละเอียดข้อมูลลับ ๆ ว่าทำไมรองผู้อำนวยการคนใหม่ที่ได้รับการแต่งตั้ง ถึงไม่เหมาะสมสำหรับตำแหน่งและขอให้ข้อมูลเหล่านี้เป็นความลับอีกต่อไป ผมก็รับคำขอของพวกเขา"
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 สเปนเซอร์ แอคเคอร์แมน ได้รายงานว่า นักจิตวิทยา บรูซ เจนเซ่น และ เจมส์ มิตเชลล์ ผู้ออกแบบโครงการสอบปากคำที่รุนแรงขึ้น ซึ่งได้รับการออกแบบมาเพื่อทำลาย อาบู ซูไบดาห์ และต่อมาได้ถูกใช้ต่อผู้ถูกคุมขังคนอื่น ๆ ที่เรือนจำลับของซีไอเอทั่วโลก เจนเซ่น และ มิตเชลล์กำลังถูกฟ้องร้องโดย สุไลมาน อับดุลลาห์ ซาลิม, โมฮัมเหม็ด อาเหม็ด เบน ซูอุด และ โอเบด อุลลาห์ ที่ถูกทรมานโดยนักจิตวิทยา เจนเซ่น และ มิตเชลล์ กำลังพยายามบังคับให้ แฮสเปลและเพื่อนร่วมงานของเธอ เจมส์ โคทเซน่า เพื่อเป็นพยานในฝั่งของพวกเขา[21][22]
การได้รับการเสนอชื่อให้เข้าดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐ
[แก้]เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2561 ประธานาธิบดีดอนัลด์ ทรัมป์ ประกาศผ่านทาง Twitter ว่าเขาจะเสนอชื่อ แฮสเปลให้เป็นผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางสหรัฐ ซึ่งจะทำให้เธอเป็นผู้อำนวยการคนแรกของซีไอเอ ที่เป็นสุภาพสตรี[23]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Gina Haspel Selected to be Deputy Director of CIA". Central Intelligence Agency. February 2, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 3, 2017. สืบค้นเมื่อ February 2, 2017.
Ms. Haspel is the first female career CIA officer to be named Deputy Director.
- ↑ 2.0 2.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อTheIntercept2017-02-022
- ↑ 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อWdsu2017-02-022
- ↑ "Who Is Gina Haspel, President Trump's Pick for CIA Director?". TIME. March 13, 2018.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อIbtimes2017-02-032
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อYahoo2017-02-022
- ↑ Holpuch, Amanda (March 13, 2018). "Who is Gina Haspel? Trump's pick for CIA chief linked to torture site". the Guardian.
- ↑ Washington, Boer Deng (March 14, 2018). "New CIA chief Gina Haspel helped run torture site in Thailand" – โดยทาง www.thetimes.co.uk.
- ↑ "Gina Haspel, Trump's CIA director pick, oversaw the torture of dozens of people".
- ↑ Allen, Nick (March 13, 2018). "Gina Haspel: Donald Trump's new CIA director ran torture site in Thailand" – โดยทาง www.telegraph.co.uk.
- ↑ The Editorial Board of The New York Times (March 13, 2018). "Having a Torturer Lead the C.I.A." The New York Times.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อwashingtonpost2
- ↑ O'Brien, Cortney. "Critics Label Trump's New CIA Director a 'War Criminal'".
- ↑ Miller, Greg (February 2, 2017). "CIA officer with ties to 'black sites' named deputy director". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ February 3, 2017.
- ↑ Filkins, Dexter (February 3, 2017). "The New CIA Deputy Chief's Black-Site Past". The New Yorker.
- ↑ Miller, Greg (May 7, 2013). "National Security CIA selects new head of clandestine service, passing over female officer". Washington Post.
- ↑ Riechmann, Deb (February 2, 2017). "Seasoned spymaster linked to waterboarding named CIA deputy". San Francisco Chronicle. AP. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-28. สืบค้นเมื่อ 2018-03-14.
- ↑ Johnson, Tim (February 2, 2017). "New CIA deputy director is 1st career female officer in the post". Miami Herald (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ March 13, 2018.
- ↑ "Nunes Statement on Appointment of Gina Haspel as CIA Deputy Director". U.S. House of Representatives Permanent Select Committee on Intelligence. February 2, 2017. สืบค้นเมื่อ March 13, 2018.
- ↑ Katie Bo Williams (February 8, 2017). "Third Dem urges removal of Trump's pick for top CIA deputy". The Hill. RetrievedFebruary 14, 2017.
Trump's pick of 30-year veteran Gina Haspel to serve as deputy director of the CIA — which is not a Senate-confirmable position — has reinvigorated fears that the administration is weighing a return to the use of banned techniques now considered torture, such as waterboarding and sleep deprivation.
[dead link] - ↑ Spencer Ackerman (February 15, 2017). "Deputy CIA director could face court deposition over post-9/11 role in torture". The Guardian. RetrievedFebruary 15, 2017.
In a court filing on Tuesday, attorneys for two CIA contract psychologists who helped design the agency's brutal interrogations for terrorism suspects have asked a federal judge to order Gina Haspel, a career CIA officer recently appointed as the agency's No2 official, to provide a deposition discussing her allegedly pivotal involvement in an episode the CIA has tried repeatedly to put behind it.
- ↑ Spencer Ackerman (February 22, 2017). "DoJ moves to prevent CIA official from detailing role in Bush-era torture". New York City: The Guardian (UK). RetrievedMarch 27, 2017.
The government asked the court to permit it to formally submit on 8 March its state-secrets argument preventing them and another CIA witness, James Cotsana, from being deposed. It is believed to be the first assertion of the state secrets privilege under the Trump administration.
- ↑ Press, Associated (March 13, 2018). "Gina Haspel named by Trump to be CIA director, replacing Pompeo, who will replace Tillerson at State". Washington Post (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0190-8286. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-03-15. สืบค้นเมื่อ March 13, 2018.