จารึกเกอดูกันบูกิต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จารึกเกอดูกันบูกิต
วัสดุหิน
ขนาด45 โดย 80 เซนติเมตร (1.48 โดย 2.62 ฟุต)
ตัวหนังสืออักษรปัลลวะ
สร้าง1 พฤษภาคม 683
(1340 ปีก่อน)
 (683-05-01)
ค้นพบ29 พฤศจิกายน 1920
(103 ปีก่อน)
 (1920-11-29)
เกอดูกันบูกิต จังหวัดสุมาตราใต้ หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (อินโดนีเซีย)
ค้นพบโดยM. Batenburg
ที่อยู่ปัจจุบันพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอินโดนีเซีย จาการ์ตา
เลขทะเบียนD. 161

จารึกเกอดูกันบูกิต เป็นศิลาจารึกที่ชาวดัตช์ชื่อ C.J. Batenburg ค้นพบ[1] ในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1920 ที่เกอดูกันบูกิต จังหวัดสุมาตราใต้ หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (ปัจจุบันคือประเทศอินโดนีเซีย) ที่ริมฝั่งแม่น้ำตาตัง ซึ่งเป็นลำน้ำสาขาของแม่น้ำมูซี ถือเป็นตัวอย่างภาษามลายู (ในรูปภาษามลายูเก่า) ที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ยังหลงเหลืออยู่[2] หินขนาดเล็กนี้มีขนาด 45 × 80 เซนติเมตร (1.48 × 2.62 ฟุต) ซึ่งลงจารึกในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 683 ศิลาจารึกนี้เขียนด้วยอักษรทมิฬปัลลวะ[3][4][5]

เนื้อหา[แก้]

การปริวรรต[แก้]

แถว ปริวรรต
1 svasti śrī śaka varṣātīta 605 ekādaśī śukla-
2 pakṣa vulan vaiśākha ḍapunta hiyaṃ nāyik di
3 sāmvau maṅalap siddhayātra di saptamī śuklapakṣa
4 vulan jyeṣṭha ḍapunta hiyaṃ marlapas dari mināṅa
5 tāmvan mamāva yaṃ vala dua lakṣa daṅan kośa
6 dua ratus cāra di sāmvau daṅan jālan sarivu
7 tlu ratus sapulu dua vañakña dātaṃ di mukha upa
8 sukhacitta di pañcamī śuklapakṣa vulan āsāḍha
9 laghu mudita dātaṃ marvuat vanua ...
10 śrīvijaya jaya siddhayātra subhikṣa nityakāla

แปลภาษามลายูสมัยใหม่[แก้]

แปลภาษาอินโดนีเซีย[แก้]

แปลภาษาไทย[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Bloembergen, Marieke; Eickhoff, Martijn (2020-01-16). The Politics of Heritage in Indonesia: A Cultural History (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. ISBN 978-1-108-49902-6.
  2. Guy, John (7 April 2014). Lost Kingdoms: Hindu-Buddhist Sculpture of Early Southeast Asia. Metropolitan Museum of Art. p. 21. ISBN 9781588395245. สืบค้นเมื่อ 7 November 2014.
  3. Colette Caillat; J. G. de Casparis (1991). Middle Indo-Aryan and Jaina Studies. BRILL. p. 36. ISBN 90-04-09426-1.
  4. J. G. De Casparis (1978). Indonesian Chronology. BRILL Academic. pp. 15–24. ISBN 90-04-05752-8.
  5. Andrea Acri (2016). Esoteric Buddhism in Mediaeval Maritime Asia: Networks of Masters, Texts, Icons. ISEAS-Yusof Ishak Institute. pp. 256–258. ISBN 978-981-4695-08-4.

ดูเพิ่ม[แก้]

  • George Coedès, Les inscriptions malaises de Çrivijaya, BEFEO 1930
  • J.G. de Casparis, Indonesian Palaeography, Leiden (Brill) 1975.
  • Safiah Karim, Tatabahasa Dewan Edisi Baharu, Dewan Bahasa dan Pustaka 1993.