ข้ามไปเนื้อหา

อารามกยี

พิกัด: 32°17′52″N 78°00′43″E / 32.29778°N 78.01194°E / 32.29778; 78.01194
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก คีเกินปา)
อารามกยี
(กยีเกินปา)
กยีเกินปา
ศาสนา
ศาสนาศาสนาพุทธแบบทิเบต
นิกายเกอลุก
ที่ตั้ง
ที่ตั้งหุบเขาสปีตี รัฐหิมาจัลประเทศ ประเทศอินเดีย
ประเทศประเทศอินเดีย
อารามกยีตั้งอยู่ในรัฐหิมาจัลประเทศ
อารามกยี
ที่ตั้งในรัฐหิมาจัลประเทศ
พิกัดภูมิศาสตร์32°17′52″N 78°00′43″E / 32.29778°N 78.01194°E / 32.29778; 78.01194
สถาปัตยกรรม
ผู้ก่อตั้งดรมเติน
เริ่มก่อตั้งศตวรรษที่ 11

อารามกยี หรือ กยีเกิน (ทิเบต: དཀྱིལ་དགོན་, ไวลี: dkyil dgon[1], พินอินทิเบต: gyi gön; ปรากฏการทับศัพท์เป็น Kye Gompa, Ki, Key หรือ Kee) เป็นเกินปาหรืออารามในศาสนาพุทธแบบทิเบต นิกายเกลุก ตั้งอยู่บนยอดเขาที่ความสูง 4,166 เมตร (13,668 ฟุต) จากระดับน้ำทะเล ใกล้กับแม่น้ำสปีตี ในเทือกเขาสปีตี รัฐหิมาจัลประเทศ ประเทศอินเดีย[2] อารามกยีเป็นอารามที่เก่าแก่ที่สุดและใหญ่ที่สุดในหุบเขา รวมถึงเป็นที่ฝึกฝนและบำเพ็ญเพียรจิงลามะ ในปี 1855 มีรายงานระบุจำนวนพระสงฆ์ที่จำในอารามจำนวน 100 รูป[3][4]

เชื่อว่าเกินปานี้สร้างขึ้นโดยจมเตินปา (ค.ศ. 1008-1064) ศิษย์ของพุทธารจารย์อติศะที่โด่งดังในศตวรรษที่ 11 อย่างไรก็ตาม พบว่าตำนานนี้เป็นของอดีตอารามกาตัมซึ่งตั้งอยู่ใกล้ ๆ กัน ในหมู่บ้านรังริค ซึ่งเข้าใจว่าถูกทำลายไปแล้วในศตวรรษที่ 14[5][6]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "spyi ti dkyil dgon gyi byung ba". Buddhist Digital Resource Center. สืบค้นเมื่อ 4 June 2023.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. Sarina Singh, et al. (2007), p. 343.
  3. Handa (1987), p. 131.
  4. Monasteries in Himachal Pradesh. HimachalWorld.com.
  5. Francke (1914), pp. 45-47
  6. Handa (1987), pp. 97, 99.

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Handa, O. C. (1987). Buddhist Monasteries in Himachal Pradesh. Indus Publishing Company, New Delhi. ISBN 81-85182-03-5.
  • Harcourt, A. F. P. (1871). On the Himalayan Valleys:— Kooloo, Lahoul, and Spiti. Proceedings of the Royal Geographical Society of London, Vol. 15, No. 5, 336-343.
  • Kapadia, Harish. (1999). Spiti: Adventures in the Trans-Himalaya. 2nd Edition. Indus Publishing Company, New Delhi. ISBN 81-7387-093-4.
  • Janet Rizvi. (1996). Ladakh: Crossroads of High Asia. Second Edition. Oxford University Press, Delhi. ISBN 0-19-564546-4.
  • Cunningham, Alexander. (1854). LADĀK: Physical, Statistical, and Historical with Notices of the Surrounding Countries. London. Reprint: Sagar Publications (1977).
  • Francke, A. H. (1977). A History of Ladakh. (Originally published as, A History of Western Tibet, (1907). 1977 Edition with critical introduction and annotations by S. S. Gergan & F. M. Hassnain. Sterling Publishers, New Delhi.
  • Francke, A. H. (1914). Antiquities of Indian Tibet. Two Volumes. Calcutta. 1972 reprint: S. Chand, New Delhi.
  • Sarina Singh, et al. India. (2007). 12th Edition. Lonely Planet. ISBN 978-1-74104-308-2.