คอมมานโดเทียม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

คอมมานโดเทียม หรือ หน่วยจู่โจมเทียม (อังกฤษ: pseudocommando) คือ ฆาตกรหมู่ในสาขานิติจิตเวชที่ก่อเหตุฆาตกรรมโดยไตร่ตรองไว้ก่อน และการฆาตกรรมหมู่และพร้อมฆ่าตัวตายตามโดยขับเคลื่อนด้วยจินตนาการที่เต็มไปด้วยความแค้น[1][2] และหมกหมุ้นอยู่กับอาวุธปืน มีความใฝ่ฝันที่จะได้ฆ่าคน[3] โดยทั่วไปจะเป็นการสะสมอาวุธและตามมาด้วยการโจมตีตามรูปแบบของคอมมานโดติดอาวุธหนัก[4][5]

โดยทั่วไปแล้วผู้ก่อเหตุจะมองการกระทำที่หลงตนเองว่ากำลังทำสิ่งที่ดีงามทางศีลธรรมเพื่อการแก้แค้นต่อการปฏิบัติที่อยุติธรรมบนโลกที่ไม่เป็นธรรม และปรารถนาที่จะถูกมองด้วยการเป็นคนที่มีรัศมีที่น่าเลื่อมใสและน่าเชิดชู[6]

ผู้สังเกตการณ์บางคนได้แบ่งฆาตกรสังหารหมู่ออกเป็นสามประเภท คือ คอมมานโดเทียม, กุลฆาต และ ชนแล้วหนี[7][8]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Knoll IV, James L. (2010). "The "pseudocommando" mass murderer: Part I, the psychology of revenge and obliteration". The Journal of the American Academy of Psychiatry and the Law. 38 (1): 87–94. PMID 20305080.
  2. Knoll IV, L. (2010). "The "Pseudocommando" mass murderer: Part II, the language of revenge". The Journal of the American Academy of Psychiatry and the Law. 38 (2): 263–272. PMID 20542949.
  3. ไชยชมภู, นิรันดร์; เทอดอุดมธรรม, ธรรมวิทย์. "ข้อเสนอเชิงนโยบายในการกำหนดมาตรการและแนวทางปฏิบัติต่อผู้ต้องขังที่ต้องเฝ้าระวังการก่ออาชญากรรมสะเทือนขวัญ". วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2565. 30: 72.
  4. Joel Achenbach (July 26, 2012). "'Pseudo-commandos' defy explanation". The Journal Gazette. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-30. สืบค้นเมื่อ 2012-07-27.
  5. Elaine Cassel (April 20, 2007). "The Tragedy at Virginia Tech: Cho Seung Hui and the Psychology of School Shooters". FindLaw. สืบค้นเมื่อ 2012-07-27.
  6. James L. Knoll IV (January 6, 2012). "The "Pseudocommando" Mass Murderer: A Blaze of Vainglory". Psychiatric Times Vol 29 No 1. Psychiatric Times. สืบค้นเมื่อ 2012-07-27.
  7. Dietz PE (1986). "Mass, serial and sensational homicides". Bull N Y Acad Med. 62 (5): 477–91. PMC 1629267. PMID 3461857.
  8. Kocsis, Richard N. (2007). Criminal profiling international theory, research and practice. Totowa, N.J: Humana Press. p. 16. ISBN 978-1588296849.