ความพยายามยับยั้งการรั่วไหลของน้ำมันดิบจากแท่นขุดเจาะดีพวอเทอร์ฮอไรซัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ความพยายามยับยั้งการรั่วไหลของน้ำมันดิบจากแท่นขุดเจาะดีพวอเทอร์ฮอไรซัน เป็นเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากการระเบิดของแท่นขุดเจาะดีพวอเทอร์ฮอไรซัน จนกระทั่งโรงกลั่นน้ำมันได้รับการปิดผนึกเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553[1] อย่างไรก็ตาม มีความเป็นไปได้มากว่าความช่วยเหลือของบริติชปิโตรเลียม (BP) สู่พื้นที่จะแก้ปัญหาได้อย่างถาวร โลมาและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมหลายสปีชีส์ (61 ตัว) นก (2,095 ตัว) และเต่าทะเลใกล้สูญพันธุ์ (467 ตัว) ตายได้โดยรับผลกระทบโดยตรงหรือโดยอ้อมจากการรั่วไหลของน้ำมันดิบดังกล่าว[2]

ความพยายามปิดโดยไม่ใช้ระเบิด[แก้]

การปิดถาวร[แก้]

บีพีได้ขุดหลุมควบคุมความดันภายในบ่อเดิมเพื่อที่จะสกัดกั้นการรั่วไหลของน้ำมันดิบ เมื่อหลุมควบคุมความดันเข้าไปถึงหลุมเจาะแล้ว ผู้ควบคุมจะสูบเอาของเหลวที่กำลังร่วไหลออกมาเข้าไปในบ่อดั้งเดิมได้ ดิวัลลอปเมนต์ ดริลเลอร์ที่ 3 ได้เริ่มต้นการเจาะหลุมควบคุมความดันหลุ่มแรกเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม และเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน หลุมได้มีความลุก 4,260 เมตร จากทั้งหมด 5,500 เมตรแล้ว จีเอสเอฟ ดิวัลลอปเมนต์ ดริลเลอร์ที่ 2 ได้เริ่มต้นการเจาะหลุมควบคุมความดันที่สองเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม แต่หยุดอยู่ที่ 2,614 เมตร จากทั้งหมด 5,500 เมตร เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน ระหว่างที่วิศวกรของบีพีกำลังระบุสถานะปฏิบัติการของตัวป้องกันการพลุ่งของหลุมควบคุมความดันที่สอง[3][4][5][6][7][8] หลุมควบคุมความดันคาดว่าจะเริ่มต้นใช้ได้ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553[9] โดยบ่อหนึ่งคิดเป็นมูลค่ากว่า 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[10][11]

อ้างอิง[แก้]

  1. http://www.nytimes.com/2010/07/16/us/16spill.html?hp New York Times – July 16, 2010
  2. Collection Report เก็บถาวร 2010-07-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน(PDF). U.S. Fish and Wildlife Service. 5 July 2010.
  3. "Relief wells and Subsea containment illustration". BP. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-07-20.
  4. Daly; และคณะ (26 May 2010). "Heat on White House to do more about Gulf spill". Washington Examiner. Associated Press. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 July 2010. สืบค้นเมื่อ 2010-05-26.
  5. "Second Macondo relief well under way". Upstream Online. NHST Media Group. 2010-05-17. (ต้องรับบริการ). สืบค้นเมื่อ 2010-05-25.
  6. "Update on Gulf of Mexico Oil Spill – 1 June". BP. 2010-06-01. สืบค้นเมื่อ 2010-06-01.
  7. "Update on Gulf of Mexico Oil Spill – 29 May". BP. 2010-05-30. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-30. สืบค้นเมื่อ 2010-05-30.
  8. Vergano, Dan (2010-06-14). "Relief wells aim at pipe 18,000 feet deep". USA Today. สืบค้นเมื่อ 2010-06-15.
  9. Nuckols, Ben (30 May 2010). "BP turns to next attempt after top kill fails". Associated Press. สืบค้นเมื่อ 30 May 2010.
  10. Brenner, Noah; Guegel, Anthony; Hwee Hwee, Tan; Pitt, Anthea (2010-04-30). "Congress calls Halliburton on Macondo". Upstream Online. NHST Media Group. สืบค้นเมื่อ 2010-05-01.
  11. "BP MC252 Gulf Of Mexico Response Continues To Escalate On And Below Surface" (Press release). BP. 2010-04-29. สืบค้นเมื่อ 2010-04-29.