การเรียนรู้ร่วมกัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การเรียนรู้ร่วมกัน (อังกฤษ: Collaborative learning) เป็นสถานการณ์ที่คนมากกว่า 2 คนต้องการเรียนรู้บางอย่างร่วมกัน[1] ซึ่งต่างจากการเรียนเพียงลำพังที่ผู้เรียนสามารถใช้ประโยชน์จากทักษะหรือทรัพยากรของผู้อื่นได้[2][3] ดังนั้นองค์ความรู้จึงเกิดได้ผ่านการที่สมาชิกมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์[4] โดยมีความสำเร็จของกลุ่มและทุกคนเป็นเป้าหมายสำคัญของการเรียนรู้[5]: 438–9  กระบวนการเรียนรู้รูปแบบนี้ผู้เรียนจะเป็นผู้กำหนดเนื้อหาด้วยตนเอง ไม่ต้องมีการคละความสามารถของสมาชิกในกลุ่ม โดยผู้สอนมีหน้าที่เป็นเพียงแค่ที่ปรึกษาและอำนวยความสะดวกทางการเรียนให้กับผู้เรียนเท่านั้น[5]: 442 

อ้างอิง[แก้]

  1. Dillenbourg, P. (1999). Collaborative Learning: Cognitive and Computational Approaches. Advances in Learning and Instruction Series. New York, NY: Elsevier Science, Inc.
  2. Chiu, M. M. (2000). Group problem solving processes: Social interactions and individual actions เก็บถาวร 2017-09-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. for the Theory of Social Behavior, 30, 1, 27-50.600-631.
  3. Chiu, M. M. (2008).Flowing toward correct contributions during groups' mathematics problem solving เก็บถาวร 2017-03-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน: A statistical discourse analysis. Journal of the Learning Sciences, 17 (3), 415 - 463.
  4. Mitnik, R.; Recabarren, M.; Nussbaum, M.; Soto, A. (2009). "Collaborative Robotic Instruction: A Graph Teaching Experience". Computers & Education. 53 (2): 330–342. doi:10.1016/j.compedu.2009.02.010.
  5. 5.0 5.1 มิ่งศิริธรรม, เขมณัฏฐ์ (2011). "การบูรณาการวิธีการเรียนแบบร่วมมือกับการเรียนร่วมกัน". Veridian E-Journal SU. 4 (1): 435–444.