การวิเคราะห์ความจำนงในการรักษา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ในทางการแพทย์ การวิเคราะห์ความจำนงในการรักษา (อังกฤษ: intention-to-treat; ITT) มีเป้าหมายเพื่อกำจัดตัวแปรที่ชี้นำผิด ๆ (misleading artifacts) ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในงานวิจัยศึกษาการแทรกแซง ITT มีลักษณะเรียบง่ายกว่ารูปแบบอื่น ๆ ของการออกแบบงานวิจัยและวิเคราะห์ผลเนื่องจากไม่ต้องใช้การสังเกตสถานะคอมไพลแอนซ์ ถึงแม้การวิเคราะห์ ITT จะปรากฏใช้ในการทดลองทางคลินิกอย่างแพร่หลาย แต่ก็สามารถถูกบรรยายหรือตีความผิด ๆ และรวมถึงมีปัญหาในการนำไปประยุกต์ใช้จริงอยู่เช่นกัน[1] นอกจากนี้ ยังไม่มีข้อตกลงร่วมต่อวิธีการทำวิเคราะห์ ITT ในกรณีที่ปรากฏการขาดหายของข้อมูลผลวิจัย[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. Hollis, Sally; Campbell, Fiona (September 1999). "What is meant by intention to treat analysis? Survey of published randomised controlled trials". BMJ. 319 (7211): 670–674. doi:10.1136/bmj.319.7211.670. PMC 28218. PMID 10480822.
  2. Alshurafa, Mohamad; Briel, Matthias; Akl, Elie A.; Haines, Ted; Moayyedi, Paul; Gentles, Stephen J.; Rios, Lorena; Tran, Chau; Bhatnagar, Neera; Lamontagne, Francois; Walter, Stephen D.; Guyatt, Gordon H. (2012). "Inconsistent Definitions for Intention-To-Treat in Relation to Missing Outcome Data: Systematic Review of the Methods Literature". PLOS ONE. 7 (11): e49163. doi:10.1371/journal.pone.0049163. PMC 3499557. PMID 23166608.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]