การปราบปรามความไม่สงบในหมั่นโจวกั๋ว
หน้าตา
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
การปราบปรามความไม่สงบในหมั่นโจวกั๋ว | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง | |||||||
ทหารญี่ปุ่นในแมนจูเรีย, ค.ศ. 1931 | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
จีน | |||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
หม่า จ้านชาน จ้าว ช่างจื้อ หยาง จิ้งยฺหวี่ โจว ป่าวจง หลี่ จ้าวหลิน ติง ชาว เฝิง จ้านไห่ ถัง จู้อู่ หวัง เฟิ่งเก๋อ หวัง เต๋อหลิน ซู ปิ่งเหวิน ชเว ฮย็อน |
ชิเงรุ ฮนโจ โนบูโยชิ มูโต ทากาชิ ฮิชิการิ จิโร มินามิ เค็งกิจิ อูเอดะ โยชิจิโร อูเมซุ เซชิโร อิตางากิ ซี เชี่ย หม่า จ้านชาน จาง ไห่เผิง ยฺหวี จื่อชาน | ||||||
กำลัง | |||||||
300,000 |
Japanese: 84,000 Manchurian: 111,000[1] | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
? | ? |
การปราบปรามความไม่สงบในหมั่นโจวกั๋ว เป็นการทัพต่อต้านการก่อกบฏของญี่ปุ่นในช่วงสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองเพื่อปราบปรามการต่อต้านด้วยอาวุธที่มีต่อรัฐหุ่นเชิดของหมั่นโจวกั๋วที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นมาใหม่ๆจากกองกำลังทหารอาสาสมัครต่อต้านญี่ปุ่นหลายหน่วยในเขตยึดครองแมนจูเรียและต่อมากองทัพร่วมต่อต้านญี่ปุ่นทางภาคเหนือของคอมมิวนิสต์ ปฏิบัติการครั้งนี้ได้ถูกดำเนินการโดยกองทัพคันโตแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่นและกองกำลังทหารที่เป็นฝ่ายให้ความร่วมมือของรัฐบาลหมั่นโจวกั๋ว ตั้งแต่เดือนมีนาคม ค.ศ. 1932 จนกระทั่งปี ค.ศ. 1942 และผลลัพธ์ในชัยชนะของญี่ปุ่น
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Jowett (2004), p. 8