การณ์ลักษณะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การณ์ลักษณะ[1] (อังกฤษ: aspect) เป็นศัพท์ทางภาษาศาสตร์ หมายถึง ลักษณะของการเกิดขึ้นหรือลักษณะของเหตุการณ์ การปรากฏหรือการดำเนินไปของปรากฏการณ์ของการกระทำหรือสภาพของกริยา[2] แบ่งตามมโนทัศน์ได้ 2 ประเภทคือ การณ์ลักษณะทางไวยากรณ์ และ การณ์ลักษณะประจำคำ[3]

อ้างอิง[แก้]

  1. พจนานุกรมศัพท์ภาษาศาสตร์ (ภาษาศาสตร์ทั่วไป) ฉบับราชบัณฑิตยสภา. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ. 2017. p. 42. ISBN 978-616-389-060-3. OCLC 1201694777.{{cite book}}: CS1 maint: others (ลิงก์)
  2. มิ่งมิตร ศรีประสิทธิ์. (2521). การศึกษาเชิงประวัติของคำว่า แล้ว อยู่ อยู่แล้ว (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นจาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2691 เมื่อ 26 มิถุนายน 2564.
  3. คเชนทร์ ตัญศิริ. (2554). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการณ์ลักษณะทางไวยากรณ์และการณ์ลักษณะประจำคำ: การศึกษาแบบอิงคลังข้อมูลภาษา (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นจาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27680 เมื่อ 26 มิถุนายน 2564.