การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวติมอร์ตะวันออก
หน้าตา
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวติมอร์ตะวันออก | |
---|---|
เป็นส่วนหนึ่งของ การยึดครองติมอร์ตะวันออกของอินโดนีเซีย | |
การสังหารหมู่ซังตากรุชเกิดขึ้นในระหว่างพิธีแห่ขบวนไปยังหลุมศพของซึบัชตีเยา โกมึช ใน ค.ศ. 1991 | |
สถานที่ | ติมอร์ตะวันออกภายใต้ การยึดครองของอินโดนีเซีย |
วันที่ | การยึดครองดำเนินไประหว่าง ค.ศ. 1975 ถึง ค.ศ. 1999 แต่การสังหารส่วนใหญ่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1970 |
เป้าหมาย | ประชากรชาวติมอร์ตะวันออก |
ประเภท | การบังคับบุคคลให้สูญหาย, การสังหารหมู่ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ |
ตาย | จำนวนผู้เสียชีวิตในช่วงสงครามอยู่ระหว่าง 100,000–300,000 คน โดยประมาณ |
เหตุจูงใจ | การบีบบังคับให้ประชาชนชาวติมอร์ตะวันออกยอมจำนนต่ออำนาจอินโดนีเซีย, อินโดนีเซียอันยิ่งใหญ่ |
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวติมอร์ตะวันออก หมายถึง "การณรงค์เพื่อสร้างสันติ" ของวินาศกรรมซึ่งรัฐบาลระเบียบใหม่ของอินโดนีเซียก่อขึ้นระหว่างการรุกรานและยึดครองติมอร์ตะวันออกของอินโดนีเซียโดยมีสหรัฐหนุนหลัง[1][2] ในการประชุมครั้งหนึ่งซึ่งมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดเป็นผู้จัด มีความเห็นพ้องทางวิชาการให้ถือว่าการยึดครองติมอร์ตะวันออกของอินโดนีเซียเป็นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ และมหาวิทยาลัยเยลได้บรรจุเหตุการณ์นี้ไว้ในหลักสูตรโครงการพันธุฆาตศึกษาของมหาวิทยาลัย[3][4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Blakeley, Ruth (2009). State Terrorism and Neoliberalism: The North in the South. Routledge. pp. 89-90. ISBN 978-0415686174.
- ↑ Simpson, Brad, บ.ก. (January 24, 2006). "East Timor truth commission finds U.S. "political and military support were fundamental to the Indonesian invasion and occupation"". National Security Archive. สืบค้นเมื่อ February 1, 2019.
- ↑ Payaslian, Simon. "20th Century Genocides". Oxford bibliographies.
{{cite web}}
: CS1 maint: ref duplicates default (ลิงก์) - ↑ "Genocide Studies Program: East Timor". Yale.edu.