การกระตุ้นเนื้อเยื่อบุโพรง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การกระตุ้นเนื้อเยื่อบุโพรง หรือ การกระตุ้นเอนโดทีเลียม[1] (อังกฤษ: endothelial activation) เป็นภาวะสนับสนุนการอักเสบ (proinflammatory) ซึ่งโปรโหมตการจับเป็นก้อน/เป็นลิ่ม (procoagulant) ของเซลล์เนื้อเยื่อบุโพรง (endothelial cell) ที่บุช่องหลอดเลือด[2] ปรากฏโดยการมีปฏิสัมพันธ์กับเซลล์เม็ดเลือดขาวเพิ่ม และสัมพันธ์กับภาวะเริ่มต้นของโรคหลอดเลือดแดงแข็งและภาวะพิษเหตุติดเชื้อเป็นต้น[3] เป็นเหตุให้เกิดภาวะหลอดเลือดดำส่วนลึกมีลิ่มเลือด (deep vein thrombosis)[4] เพราะภาวะนี้ เยื่อก็จะหลั่ง Weibel-Palade body ออก[5]

เชิงอรรถและอ้างอิง[แก้]

    • "endothelium", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (แพทยศาสตร์) เนื้อเยื่อบุโพรง, (พฤษศาสตร์) เอนโดทีเลียม
    • "activation", พจนานุกรมศัพท์แพทย์, สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ, (การกระตุ้น) การก่อกัมมันต์
  1. Li, X; Fang, P และคณะ (April 2016). "Mitochondrial Reactive Oxygen Species Mediate Lysophosphatidylcholine-Induced Endothelial Cell Activation". Arteriosclerosis, Thrombosis, and Vascular Biology. 36: 1090–1100. doi:10.1161/ATVBAHA.115.306964. PMC 4882253. PMID 27127201.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  2. Alom-Ruiz, SF; Anilkumar, N; Shah, AM (2008). "Reactive oxygen species and endothelial activation". Antioxid Redox Signal. 10 (6 I): 1089–100. doi:10.1089/ars.2007.2007. PMID 18315494.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  3. Bovill, EG; van der Vliet, A (2011). "Venous valvular stasis-associated hypoxia and thrombosis: what is the link?". Annu Rev Physiol. 73: 527–45. doi:10.1146/annurev-physiol-012110-142305. PMID 21034220.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  4. Lopez, JA; Chen; J (2009). "Pathophysiology of venous thrombosis". Thromb Res. 123 (Suppl 4): 530–4. doi:10.1016/50049-3848(09)70140-9. PMID 19303501.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)