กลุ่มภาษาอาโลร์-ปันตาร์
หน้าตา
กลุ่มภาษาอาโลร์-ปันตาร์ (Alor-Pantar languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่อยู่ในตระกูลภาษาปาปัว ใช้พูดในบริเวณหมู่เกาะอาโลร์ใกล้กับติมอร์ทางภาคใต้ของอินโดนีเซีย มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาที่ไม่ได้อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในติมอร์ตะวันตกแต่ยังไม่มีการศึกษาที่แน่ชัด คาดว่ามีความสัมพันธ์ที่ห่าง ๆ กับกลุ่มภาษาทรานส์-นิวกินีในคาบสมุทรบมเบอไร แต่ยังไม่มีหลักฐานยืนยันอย่างแน่ชัด
สมาชิก
[แก้]ภาษาในกลุ่มนี้แบ่งออกได้เป็นสองสาขาคือ
- สาขาอาโลร์ ได้แก่ ภาษากามัง ภาษากูลา ภาษาซารีลา ภาษาอบุย ภาษากาโบลา ภาษากาฟัว ภาษากุย ภาษาเกลอน
- สาขาปันตาร์ ได้แก่ ภาษาบลาการ์ ภาษาเตวา ภาษาเนเดบัง ภาษาเรตตา
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Alor and Pantar Languages: Origins and Theoretical Impacts เก็บถาวร 2009-07-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Alor–Pantar languages: origins and theoretical impact – University of Leiden
- Linguistic Variation in Eastern Indonesia: the Alor and Pantar Project – University of Leiden
- The Alor–Pantar family at Ethnologue