กฎของลัมแบร์ท–แบร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตัวอย่างกฎลัมแบร์ท-แบร์ แสงเลเซอร์สีเขียวในสารละลายโรดามีน 6B ลำแสงจะอ่อนลงเมื่อเคลื่อนที่ผ่านสารละลาย

กฎของลัมแบร์ท–แบร์ (อังกฤษ: Lambert–Beer law) หรือยังรู้จักกันในชื่อ กฎของแบร์–ลัมแบร์ท (Beer–Lambert law) หรือ กฎของแบร์–ลัมแบร์ท–บูเก (Beer–Lambert–Bouguer law) หรือเรียกสั้น ๆ ว่ากฎของแบร์ (Beer's law) เป็นกฎที่กำหนดเรื่องการดูดกลืนของแสงโดยสสาร[1] ชื่อของกฎมีที่มาจากโยฮัน ไฮน์ริช ลัมแบร์ท และเอากุสท์ แบร์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน และปีแยร์ บูเก (Pierre Bouguer) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส

อ้างอิง[แก้]

  1. IUPAC, Compendium of Chemical Terminology, 2nd ed. (the "Gold Book") (1997). Online corrected version:  (2006-) "Beer–Lambert law (or Beer–Lambert–Bouguer law)".