ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แฝดติดกัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: ja:結合双生児
Pruetboonma (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:


== ความสำเร็จในการผ่าแยกในประเทศไทย ==
== ความสำเร็จในการผ่าแยกในประเทศไทย ==
เมื่อวันที่ [[20 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2550]]<ref>[http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=123260&NewsType=1&Template=1 http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=123260&NewsType=1&Template=1] - หน้าข่าวจาก[[หนังสือพิมพ์เดลินิวส์]]</ref> คณะแพทยศาสตร์ศิริราช ได้ทำการผ่าตัดแฝดสยาม [[ปานตะวัน-ปานวาด]] วัย 8 เดือน เป็นผลสำเร็จ โดยสามารถแยกทั้งร่างกาย หัว ใจ ตับ ไต ด้วยความปลอดภัย สำเร็จครั้งแรกของโลก<ref>[http://www.manager.co.th/Pjkkuan/ViewNews.aspx?NewsID=9500000041067&Keyword=%e1%bd%b4 บัง-แอ้ด ขอร้องหมอศิริราช 'ผ่าตัดให้ตัวติดกันรายแรกของโลก'] - หน้าข่าวจากเว็บไซต์[[หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ]]</ref>
เมื่อวันที่ [[20 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2550]] คณะแพทยศาสตร์ศิริราช ได้ทำการผ่าตัดแฝดสยาม [[ปานตะวัน-ปานวาด]] วัย 8 เดือน เป็นผลสำเร็จ โดยสามารถแยกทั้งร่างกาย หัว ใจ ตับ ไต ด้วยความปลอดภัย สำเร็จครั้งแรกของโลก<ref>[http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=123260&NewsType=1&Template=1 http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=123260&NewsType=1&Template=1] - หน้าข่าวจาก[[หนังสือพิมพ์เดลินิวส์]]</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:57, 11 กันยายน 2550

ฝาแฝด อิน และ จัน บุนเกอร์ ฝาแฝดตัวติดกันที่มีชีวิตยืนยาวที่สุด

ฝาแฝดติดกัน (Conjoined twins) คือ แฝดผู้มีร่างกายติดกันมาแต่กำเนิด เกิดขึ้นเมื่อ ไซโกท พยายามแบ่งตัวเป็นแฝด แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ ฝาแฝดติดกัน มีโอกาสในการเกิดจาก 1 ใน 200000 คน ซึ่งฝาแฝดตัวติดกันมีโอกาสมีชีวิตรอกน้อยมาก โดยประมาณร้อยละ 5 ถึง 25 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง (ประมาณร้อยละ 70 - 75)

หากจะเอ่ยถึงฝาแฝดตัวติดกัน ที่มีชื่อเสียงรู้จักที่สุด คงจะหนีไม่พ้นฝาแฝดชาวจีน อิน และ จัน บุนเกอร์ (พ.ศ. 2354 - 2417) ที่เกิดในประเทศไทย (หรือ สยาม ในขณะนั้น) ซึ่งได้เดินทางไปแสดงโชว์ที่โรงมหรสในเมือง บอสตัน, สหรัฐอเมริกา เป็นที่รู้จักกันในชื่อ "แฝดสยาม" (Siamese Twins)

ความสำเร็จในการผ่าแยกในประเทศไทย

เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 คณะแพทยศาสตร์ศิริราช ได้ทำการผ่าตัดแฝดสยาม ปานตะวัน-ปานวาด วัย 8 เดือน เป็นผลสำเร็จ โดยสามารถแยกทั้งร่างกาย หัว ใจ ตับ ไต ด้วยความปลอดภัย สำเร็จครั้งแรกของโลก[1]

อ้างอิง

  1. http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=123260&NewsType=1&Template=1 - หน้าข่าวจากหนังสือพิมพ์เดลินิวส์