ไตรไอโอโดไทโรนีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไตรไอโอโดไทโรนีน
ชื่อ
IUPAC name
(2S) -2-amino-3- [4- (4-hydroxy-3-iodo-phenoxy) - 3,5-diiodo-phenyl]propanoic acid
ชื่ออื่น
triiodothyronine
T3
3,3',5-triiodo-L-thyronine
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ECHA InfoCard 100.027.272 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • N[C@@H](Cc1cc (I) c (Oc2ccc (O) c (I) c2)
    c (I) c1) C (O) =O
คุณสมบัติ
C15H12I3NO4
มวลโมเลกุล 650.9776 g mol−1
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ไตรไอโอโดไทโรนีน (อังกฤษ: triiodothyronine), C15H12I3NO4 หรือที่รู้จักในชื่อ T3 เป็นฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์

ผลกระทบของ T3[แก้]

T3 เพิ่มอัตราการเผาผลาญขั้นพื้นฐาน (basal metabolic rate) ดังนั้นมันจึงเพิ่มออกซิเจนในร่างกายและการใช้พลังงาน อัตราการเผาผลาญขั้นพื้นฐานคือ ความจำเป็นแคโรลี่ต่ำสุดที่ทำให้ดำรงชีวิตอยู่ได้ในแต่ละบุคคล T3กระทำกับเนื้อเยื่อภายในร่างกายเป็นหลัก ยกเว้นในม้ามและลูกอัณฑะ มันเพิ่มการผลิตของ Na+/K+ -ATPase และในการเพิ่มการเปลี่ยนอย่างไม่เฉพาะเจาะจงของความหลากหลายภายในโมเลกุลขนาดใหญ่ โดยการสังเคราะห์และทำลาย

โปรตีน[แก้]

T3 กระตุ้นการผลิตของ RNA Polymerase I และ II ฉะนั้นจึงเพิ่มอัตราการสังเคราะห์โปรตีน มันจึงเพิ่มอัตราการทำลายโปรตีนเช่นกัน และเมื่อใดอัตราการทำลายโปรตีนมีมาเกินกว่าอัตราการสังเคราะห์โปรตีน อาจจะทำให้ร่างกายเข้าสู่สภาวะสมดุลเป็นไอออนลบ (Negative ion balance)

กลูโคส[แก้]

T3 เพิ่มอำนาจในการเผาผลาญกลูโคสของตัวรับ β-adrenergic ฉะนั้นมันจึงเพิ่มอัตราการหยุดไกลโคเจน และอัตราการเพิ่มกลูโคสในgluconeogenesis มันก็เพิ่มอำนาจของอินซูรินเช่นกัน

ลิพิด[แก้]

T3 กระตุ้นการหยุดของคลอเรสเทอรอล และเพิ่มเลขของตัวรับ LDL ดังนั้นมันจึงเพิ่มอัตราของลิโพไลซิส (Lipolysis) เพิ่มทวี


T3 มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดเช่นเดียวกัน มันได้เพิ่มผลผลิตของหัวใจ โดยเพิ่มอัตราการการเต้นของหัวใจและแรงหดตัว ทำให้เห็นผลในด้านความดันโลหิต


T3 มีผลกับการพัฒนาเอมบริโอและทารกเช่นกัน มีผลต่อปอดและระบบประสาทหลังกำเนิด มันกระตุ้นการผลิตของไมอิลิน (เยื่อหุ้มเซลล์ประสาท) และการพัฒนาแอกซอน มันสำคัญต่อการเจริญเติบโตของกระดูกโดยตรงเช่นกัน