เส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันออก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Line across the Earth
133°
เส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันออก
แผนที่พิกัดทั้งหมด กำลังใช้ OpenStreetMap 
ดาวน์โหลดพิกัดเป็น KML

เส้นเมริเดียน 133 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้

เส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 47 องศาตะวันตก

จากขั้วโลกสู่ขั้วโลก[แก้]

เริ่มจากขั้วโลกเหนือ มุ่งหน้าทางใต้สู่ขั้วโลกใต้ โดยเส้นเมริเดียนที่ 133 องศาตะวันออกลากผ่านพื้นที่ดังนี้:

พิกัด ประเทศ ดินแดน หรือพื้นน้ำ หมายเหตุ
90°0′N 133°0′E / 90.000°N 133.000°E / 90.000; 133.000 (มหาสมุทรอาร์กติก) มหาสมุทรอาร์กติก
76°53′N 133°0′E / 76.883°N 133.000°E / 76.883; 133.000 (ทะเลลัปเตฟ) ทะเลลัปเตฟ
71°58′N 133°0′E / 71.967°N 133.000°E / 71.967; 133.000 (รัสเซีย) ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย สาธารณรัฐซาฮา
คาบาโรฟสกีไคร — จากพิกัด 59°1′N 133°0′E / 59.017°N 133.000°E / 59.017; 133.000 (คาบาโรฟสกีไคร)
แคว้นอามูร์ — จากพิกัด 53°28′N 133°0′E / 53.467°N 133.000°E / 53.467; 133.000 (แคว้นอามูร์)
คาบาโรฟสกีไคร — จากพิกัด 55°22′N 133°0′E / 55.367°N 133.000°E / 55.367; 133.000 (คาบาโรฟสกีไคร)
แคว้นอามูร์ — จากพิกัด 53°20′N 133°0′E / 53.333°N 133.000°E / 53.333; 133.000 (แคว้นอามูร์)
คาบาโรฟสกีไคร — จากพิกัด 52°10′N 133°0′E / 52.167°N 133.000°E / 52.167; 133.000 (คาบาโรฟสกีไคร)
แคว้นปกครองตนเองยิว — จากพิกัด 49°10′N 133°0′E / 49.167°N 133.000°E / 49.167; 133.000 (แคว้นปกครองตนเองยิว)
48°2′N 133°0′E / 48.033°N 133.000°E / 48.033; 133.000 (จีน)  สาธารณรัฐประชาชนจีน มณฑลเฮย์หลงเจียง
45°2′N 133°0′E / 45.033°N 133.000°E / 45.033; 133.000 (รัสเซีย) ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ปรีโมร์สกีไคร
42°48′N 133°0′E / 42.800°N 133.000°E / 42.800; 133.000 (ทะเลญี่ปุ่น) ทะเลญี่ปุ่น
36°7′N 133°0′E / 36.117°N 133.000°E / 36.117; 133.000 (ญี่ปุ่น) ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เกาะนิชิโนะ จังหวัดชิมาเนะ
36°2′N 133°0′E / 36.033°N 133.000°E / 36.033; 133.000 (ทะเลญี่ปุ่น) ทะเลญี่ปุ่น
35°32′N 133°0′E / 35.533°N 133.000°E / 35.533; 133.000 (ญี่ปุ่น) ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เกาะฮนชู
จังหวัดชิมาเนะ
จังหวัดฮิโรชิมะ — จากพิกัด 35°5′N 133°0′E / 35.083°N 133.000°E / 35.083; 133.000 (จังหวัดฮิโรชิมะ)
34°19′N 133°0′E / 34.317°N 133.000°E / 34.317; 133.000 (ทะเลเซโตะใน) ทะเลเซโตะใน
34°17′N 133°0′E / 34.283°N 133.000°E / 34.283; 133.000 (ญี่ปุ่น) ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เกาะโอมิ, จังหวัดเอฮิเมะ
34°11′N 133°0′E / 34.183°N 133.000°E / 34.183; 133.000 (ทะเลเซโตะใน) ทะเลเซโตะใน
34°4′N 133°0′E / 34.067°N 133.000°E / 34.067; 133.000 (ญี่ปุ่น) ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เกาะชิโกกุ
จังหวัดเอฮิเมะ
จังหวัดโคจิ — จากพิกัด 33°28′N 133°0′E / 33.467°N 133.000°E / 33.467; 133.000 (จังหวัดโคจิ)
32°43′N 133°0′E / 32.717°N 133.000°E / 32.717; 133.000 (มหาสมุทรแปซิฟิก) มหาสมุทรแปซิฟิก
0°29′S 133°0′E / 0.483°S 133.000°E / -0.483; 133.000 (อินโดนีเซีย) ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย เกาะนิวกินี
2°16′S 133°0′E / 2.267°S 133.000°E / -2.267; 133.000 (อ่าวเบอร์ราว) อ่าวเบอร์ราว
2°33′S 133°0′E / 2.550°S 133.000°E / -2.550; 133.000 (อินโดนีเซีย) ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย เกาะนิวกินี
4°6′S 133°0′E / 4.100°S 133.000°E / -4.100; 133.000 (ทะเลอาราฟูรา) ทะเลอาราฟูรา
5°39′S 133°0′E / 5.650°S 133.000°E / -5.650; 133.000 (อินโดนีเซีย) ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย เกาะไกเบซาร์
5°42′S 133°0′E / 5.700°S 133.000°E / -5.700; 133.000 (ทะเลอาราฟูรา) ทะเลอาราฟูรา
11°26′S 133°0′E / 11.433°S 133.000°E / -11.433; 133.000 (ออสเตรเลีย) ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย รัฐนอร์เทิร์นเทร์ริทอรี
รัฐเซาท์ออสเตรเลีย — จากพิกัด 26°0′S 133°0′E / 26.000°S 133.000°E / -26.000; 133.000 (รัฐเซาท์ออสเตรเลีย)
32°5′S 133°0′E / 32.083°S 133.000°E / -32.083; 133.000 (มหาสมุทรอินเดีย) มหาสมุทรอินเดีย ทางการออสเตรเลียถือว่าบริเวณนี้เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรใต้[1][2]
60°0′S 133°0′E / 60.000°S 133.000°E / -60.000; 133.000 (มหาสมุทรใต้) มหาสมุทรใต้
66°10′S 133°0′E / 66.167°S 133.000°E / -66.167; 133.000 (แอนตาร์กติกา) แอนตาร์กติกา ออสเตรเลียนแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี, อ้างสิทธิ์โดย ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Darby, Andrew (22 December 2003). "Canberra all at sea over position of Southern Ocean". The Age. สืบค้นเมื่อ 13 January 2013.
  2. "Indian Ocean". Encyclopaedia Britannica. สืบค้นเมื่อ 13 January 2013.