เบ็น แกร์ริสสัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เบ็น แกร์ริสสัน
สัญชาติอเมริกัน
การศึกษามหาวิทยาลัยรัฐแอนเจโล
อาชีพนักวาดการ์ตูนการเมือง
ปีปฏิบัติงานค.ศ. 1980–ปัจจุบัน
คู่สมรสทีนา นอร์ตัน[1][2]
เว็บไซต์grrrgraphics.com แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ

เบ็น แกร์ริสสัน (อังกฤษ: Ben Garrison) เป็นนักเขียนการ์ตูนการเมืองชาวอเมริกัน[3] โดยเรียกตนเองเป็นอิสรภาพนิยม (libertarian) การ์ตูนของเขามีเนื้อหาที่สนับสนุนออลต์ไรต์ บางครั้งมีการตัดต่อโดยพวกก่อกวนในโลกออนไลน์ให้มีเนื้อหาที่ต่อต้านยิว เขาผลิตการ์ตูนที่มีเนื้อหาที่กีดกันทางเพศ, เหยียดผิว, ต่อต้านมุสลิม, ต่อต้านยิว, ต่อต้านวัคซีน, ปฏิเสธการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และทฤษฎีสมคบคิด[4][5][6][7][8] การ์ตูนของเขามักยกย่องบุคคลฝ่ายอนุรักษนิยมและนักการเมืองชาตินิยม เช่น ประธานาธิบดีดอนัลด์ ทรัมป์[9][3][10]

จากรายงานปีค.ศ. 2015 ของเบรตบาร์ตนิวส์ เขากล่าวว่า เขาไม่ได้สนับสนุนผู้เข้าชิงประธานาธิบดีคนใดในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2559 แต่ได้ยกย่องทรัมป์ที่ "ทำให้พรรคริพับลิกันที่ควบคุมพวกอนุรักษ์นิยมใหม่สั่นคลอน"[7] เขาอาศัยอยู่ที่เลคไซด์, รัฐมอนแทนา

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "About Us". grrgraphics.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 30, 2018. สืบค้นเมื่อ September 26, 2018.
  2. "Tina Norton". tinanorton.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 1, 2019. สืบค้นเมื่อ September 26, 2018.
  3. 3.0 3.1 Lanier, Amanda (June 25, 2016). "Lakeside cartoonist a player on the political world stage". Daily Inter Lake. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 8, 2017. สืบค้นเมื่อ January 30, 2017.
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ADLGarrison
  5. Grey Ellis, Emma (June 19, 2017). "The Alt-Right Found Its Favorite Cartoonist—and Almost Ruined His Life". Wired. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 2, 2018. สืบค้นเมื่อ July 3, 2018.
  6. Wilson, Jason (March 26, 2018). "How rightwingers have attacked Parkland students with lies, hoaxes and smears". The Guardian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 17, 2019. สืบค้นเมื่อ February 17, 2019.
  7. 7.0 7.1 Provenzano, Brianna (May 14, 2016). "The Internet Is Freaking Out About This Antifeminist Political Cartoon". Mic. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 30, 2017. สืบค้นเมื่อ January 30, 2017.
  8. Rosenberg, Eli; Ohlheiser, Abby (February 6, 2019). "Conspiracy theorists insist Ruth Bader Ginsburg is dead despite her appearing in public on Monday". The Washington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 27, 2019. สืบค้นเมื่อ May 5, 2020 – โดยทาง The Independent.
  9. Mathis-Lilley, Ben (July 2, 2018). "Ron Paul Becomes Latest Republican to Post Literal Nazi Content". Slate. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 16, 2019. สืบค้นเมื่อ February 17, 2019.
  10. Edroso, Roy (November 28, 2016). "A Return to Normalization: Rightbloggers Help Numb the Nation to Trump". The Village Voice. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 8, 2017. สืบค้นเมื่อ January 30, 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]