ฮิปสเตอร์ (วัฒนธรรมย่อยร่วมสมัย)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การดื่มกาแฟสตาร์บัคส์มักถูกมองเป็นการเหมารวมของวัฒนธรรมย่อยฮิปสเตอร์

วัฒนธรรมย่อยฮิปสเตอร์ตรงแบบประกอบด้วยรุ่นวัยวาย (generation Y) ผิวขาวซึ่งอาศัยอยู่ในพื้นที่เมือง[1][2] วัฒนธรรมย่อยนี้ถูกพรรณนาว่าเป็น "หม้อรวมสมัยนิยม รสนิยมและพฤติกรรมข้ามแอตแลนติกกลายพันธุ์" (mutating, trans-Atlantic melting pot of styles, tastes and behavior)[3] และสัมพันธ์กว้าง ๆ กับดนตรีอินดีและอัลเทอร์เนทีฟ แฟชั่นนอกกระแสหลักหลายอย่าง (เช่น เสื้อผ้าวินเทจ) มุมมองทางการเมืองนั้นสงบและเป็นสีเขียว วีแกนอาหารอินทรีย์และพื้นบ้านและวิถีชีวิตทางเลือก[4][5][6][7] ตรงแบบฮิปสเตอร์ถูกพรรณนาว่าเป็น โบฮีเมียน (Bohemian) หนุ่มสาวมั่งมีหรือชนชั้นกลางผู้อาศัยอยู่ในย่านซึ่งปรับให้เข้ากับชนชั้นกลาง (gentrification)[8][9]

คำนี้ที่ใช้อย่างในปัจจุบันปรากฏครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1990 และกลายมาโดดเด่นเป็นพิเศษในคริสต์ทศวรรษ 2010[10] โดยได้ชื่อมาจากคำที่ใช้อธิบายขบวนการก่อนหน้านี้ในคริสต์ทศวรรษ 1940[11] สมาชิกวัฒนธรรมย่อยดังกล่าวไม่ระบุว่าตัวเป็นฮิปสเตอร์ และคำว่า "ฮิปสเตอร์" มักใช้เป็นคำหยาบพรรณนาผู้โอ้อวด[12] ล้ำสมัยเกินหรือขาดความเข้มแข็ง ความกล้าหรือสปิริต (effete)[8][13] นักวิเคราะห์บางส่วนแย้งว่า ความคิดฮิปสเตอร์ร่วมสมัยแท้จริงเป็นเรื่องปรัมปราที่การตลาดสร้างขึ้น[14]

อ้างอิง[แก้]

  1. Greif, Mark (2010-10-24). "What Was the Hipster?". New York Mag. สืบค้นเมื่อ 2014-01-24.
  2. Lorentzen, Christian (May 30 – June 5, 2007). "Kill the hipster: Why the hipster must die: A modest proposal to save New York cool". Time Out New York. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-07-25. สืบค้นเมื่อ 2015-01-20.
  3. Haddow, Douglas (2008-07-29). "Hipster: The Dead End of Western Civilization". Adbusters. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-08. สืบค้นเมื่อ 2008-09-08.
  4. "2017 Trend Prediction: The Year of Eliminating Excess". Alexis. Sustainability X. สืบค้นเมื่อ 28 January 2019.[ลิงก์เสีย]
  5. "Poll: Many Americans dislike hipsters, are open to hipster annoyance levy". Washington Times. 2013-05-13. สืบค้นเมื่อ 2013-05-18.
  6. Kellogg, Carolyn (2010-10-12). "What do hipsters and pornography have in common?". Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ 2013-05-18.
  7. Wallace, Benjamin (2012-04-15). "The Twee Party: Is artisanal Brooklyn a step forward for food or a sign of the apocalypse? And does it matter when the stuff tastes so good?". New York Mag. สืบค้นเมื่อ 2014-01-24.
  8. 8.0 8.1 Weeks, Linton. "The Hipsterfication Of America". NPR.org. สืบค้นเมื่อ 25 January 2014.
  9. Hughes, Evan. "The Great Inversion in New Brooklyn". utne.com. สืบค้นเมื่อ 25 January 2014.
  10. Delaney, Brigid (November 6, 2010). "Hipsters in firing line in 2010s culture war". Sydney Morning Herald.
  11. Dan Fletcher (2009-07-29). "Hipsters". time.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-08-26. สืบค้นเมื่อ 2009-11-01.
  12. Thorne, Tony, 2014, Dictionary of Contemporary Slang, sv. "Hipster", p. 217.
  13. Dover, Sarah (February 29, 2012). "Sen. Orrin Hatch on Keystone Pipeline: Obama Traded in 'Hard Hat' for 'Hipster Fedora'". International Business Times. สืบค้นเมื่อ 25 January 2014.
  14. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Arsel and Thompson