สเปซวัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
SPACE ONE CO., LTD.
ชื่อท้องถิ่น
スペースワン株式会社
ประเภทเอกชน บริษัทร่วมทุน
อุตสาหกรรมวิศวกรรมการบินและอวกาศ
ก่อตั้ง19 กรกฎาคม 2017; 6 ปีก่อน (2017-07-19) (โดยนิตินัย)
2 กรกฎาคม 2018; 5 ปีก่อน (2018-07-02) (โดยพฤตินัย)
สำนักงานใหญ่ญี่ปุ่น ชิบะโคเอ็น เขตมินาโตะ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
พื้นที่ให้บริการ
ประเทศญี่ปุ่น
บุคลากรหลัก
มาซากาซุ โทโยดะ
ผลิตภัณฑ์ส่งยานอวกาศขึ้นสู่ห้วงอวกาศ
บริการบริการขนส่งพื้นที่เชิงพาณิชย์
เจ้าของ
เว็บไซต์www.space-one.co.jp/index_e.html

บริษัท สเปซวัน จำกัด (ญี่ปุ่น: スペースワン株式会社)[1] หรือเรียกว่าสเปซวัน เป็นบริษัทเอกชนเป็นผู้ผลิตในอุตสาหกรรมอวกาศของญี่ปุ่น ผู้ให้บริการในการปล่อยดาวเทียม และยังเป็นเจ้าของท่าอวกาศยาน มุ่งพัฒนาและดำเนินการส่งดาวเทียมอวกาศขนาดเล็ก ไครอส ขึ้นสู่ห้วงอวกาศตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2567[2] ก่อตั้งในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2018 โดยการร่วมลงทุนจากแคนนอน อิเล็คทรอนิคส์ ไอเอชไอ คอร์ปอเรชั่น ชิมิสึ คอร์ปอเรชั่น และธนาคารเพื่อการพัฒนาญี่ปุ่น

วิศวกรรมเครื่องยนต์จรวด[แก้]

สเปซวันมีวิศวกรรมจรวดชื่อ "ไครอส" หรือเรียกว่า " Advanced & Instant Rocket System" [3] มีฐานปล่อยจรวดอยู่ที่จังหวัดวากายามะ คำว่าไครอสมาจากภาษากรีซแปลว่า "กาลเวลา" หรือสะกดอีกชื่อหนึ่งได้ว่า "ซีรัส" ซึ่งเป็นชื่อเทพเจ้าแห่งโชคลาภ[4]

สถานที่ปลอยตัวท่าอวกาศยาน[แก้]

บริษัทชิมิสึ คอร์ปอเรชั่น ได้ก่อสร้างท่าอวกาศยานของสเปซวันเพื่อเปิดตัวจรวดไครอสโดยใช้ชื่อว่า สเปซพอร์ตคิอิ เป็นท่าอวกาศยาน ภาคเอกชนแห่งแรกของญี่ปุ่นมีที่ตั้งอยู่ที่เมืองคูชิโมโตะ จังหวัดวากายามะในระหว่างปี 2019 ถึง 2021 ท่าอวกาศยานแห่งนี้ได้เปิดข้อมูลให้บุคคลภายนอกเข้าถึงรายละเอียดของวงโคจร[5]

อุบัติเหตุและเหตุการณ์ทางการบิน[แก้]

การระเบิดของจรวดรรทุกดาวเทียม[แก้]

วันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 2024 บริษัท สเปซวัน ได้ทำการปลอยตัวจรวด “ไครอส” เป็นครั้งแรกโดยมีเป้าหมายที่จะกลายเป็นบริษัทเอกชนญี่ปุ่นแห่งแรกที่ส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจร แต่ไม่นานหลังจากทะยานขึ้นจากท่าอวกาศยานทางตะวันตกของญี่ปุ่นก็เกิดการระเบิดลุกเป็นไฟ แต่ไม่มีรายงานผู้บาดเจ็บโดยทันที[6]

อ้างอิง[แก้]

  1. "(法人名)の情報|国税庁法人番号公表サイト". National Tax Agency Corporate Number Publication Site. สืบค้นเมื่อ 2024-03-09.
  2. "Announcement of the KAIROS Rocket's First Launch Schedule" (PDF). Space One. สืบค้นเมื่อ 17 February 2024.
  3. "スペースワンの「カイロスロケット初号機」、3/9にスペースポート紀伊より打上げ". SPACE Media (ภาษาญี่ปุ่น). 2024-01-29. สืบค้นเมื่อ 2024-03-11.
  4. Thompson, Gary (2012). "Electronic Kairos". Cybercultures. At the Interface / Probing the Boundaries. Vol. 83. pp. 1–13. doi:10.1163/9789401208536_002. ISBN 9789401208536.
  5. "Space One - Spaceport Kii". Space One. สืบค้นเมื่อ 17 February 2024.
  6. "Japan's Space One Kairos rocket explodes on inaugural flight". NBC News (ภาษาอังกฤษ). 2024-03-13. สืบค้นเมื่อ 2024-03-13.